You are on page 1of 15

ทฤษฎีบุคลิกภาพ

บี. เอฟ. สกินเนอร์

(Burrhus Frederic Skinner)


(1904-1990)
ชีวประวัติ Burrhus Frederic Skinner
• สกินเนอร์ เกิดเมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1940 ที่ Susquehanna มลรัฐ
เพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมริกา
• จบปริญญาตรีทางวรรณคดีองั กฤษในปี 1926 จาก Hamilton College
มลรัฐนิวยอร์ ก
• เข้ าศึกษาต่ อวิชาจิตวิทยาระดับปริญญาโทและเอก ณ มหาวิทยาลัยฮาร์ เวิร์ด
(1982) วิชาเอก พฤติกรรมศาสตร์
• จบปริญญาเอกในปี 1931 ทางานในฐานะนักวิจัย ณ มหาวิทยาลัยมาจนถึง
ปี 1936
ชีวประวัติ Burrhus Frederic Skinner
• ปี 1936-1945 ผลิตงานค้ นคว้ าทดลองและวิจัยหลาย
ชิ้น เป็ นช่ วงชีวติ ทีว่ างรากฐานงานค้ นคว้ าที่ทาให้ เขามี
ชื่อเสี ยงโด่ งดังด้ านพฤติกรรมศาสตร์
• ปี 1945-1947 ได้ ย้ายมาเป็ นหัวหน้ าภาคสาขาวิชา
จิตวิทยา ณ มหาวิทยาลัยอินเดียนา และย้ ายมาเป็ น
อาจารย์ สอน ณ ภาคจิตวิทยา มหาวิทยาลัยฮาร์ เวิร์ด
จนได้ รับเลือ่ นเป็ นศาสตราจารย์ ความเฉียบแหลมใน
การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ และสั ตว์
• ปี 1990 เขาได้ เสี ยชีวติ ด้ วยโรคลิวคีเมีย
แนวคิดที่สาคัญ
• บุคลิกภาพของมนุษย์ตามแนวคิดของสกินเนอร์ แฝงและปนอยู่กบั ทฤษฎี
การเรียนรู้แบบลงมือกระทา (Operant conditioning learning) และกฎ
แห่ งการเสริมแรง (Reinforcement theory)
• ทฤษฎีของสกินเนอร์ มีความแตกต่ างจากทฤษฎีอนื่ ๆ เพราะกฎเกณฑ์
เกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์ ได้ มาจากการสร้ างสถานการณ์ ให้ ห้องทดลอง
• การค้ นคว้ าของเขาไม่ มีการตั้งสมมติฐานก่อน เขาเน้ นการทดลองและลง
มือปฏิบตั ิจริงและเสนอผลสรุปจากการศึกษารูปแบบนี้
แนวคิดทีส่ าคัญ
• เขาเชื่อว่ ากระบวนการเสริมแรง เป็ นพลังกระตุ้นทีส่ าคัญทีจ่ ะก่ อให้ เกิด
พฤติกรรมใหม่ ๆหรือลบพฤติกรรมเก่าๆหรือสั่ งสมลักษณะพฤติกรรม
ใดๆจนกลายเป็ นลักษณะนิสัยหรือลักษณะบุคลิกภาพประจาตัวของ
บุคคล
• สกินเนอร์ ยงั เน้ นความสั มพันธ์ ของพฤติกรรมใดๆทีเ่ กิดจากการเรียนรู้
โยงไปเกีย่ วกับพฤติกรรมอืน่ ๆ (Causal relationships)
• แนวคิดของสกินเนอร์ เป็ นทีน่ ิยมของบุคคลทีม่ ีแนวคิดโน้ มเอียงไป
ทางการศึกษาพฤติกรรมและปรากฏการณ์ ทเี่ ป็ นรูปธรรม ผลการทดลอง
เห็นได้ ชัดเจน
การเรียนรู้ แบบลงมือกระทา
(Operant Conditioning Learning)

• สกินเนอร์ มีแนวคิดว่ าพฤติกรรมของมนุษย์ ส่วนมากจะเป็ นพฤติกรรม


ประเภท Operant Behavior ซึ่งเป็ นพฤติกรรมทีค่ นและสั ตว์ เป็ น
ผู้กระทาต่ อสิ่ งแวดล้อมของตนเอง
• การทดลองการวางเงื่อนไขแบบการกระทา ทดลองโดยนาหนูทหี่ ิวไปไว้
ในกล่องของสกินเนอร์ (Skinner Box)
การทดลองกับนกพิราบใน Skinner Box
การดัดพฤติกรรม (Shaping Behavior)
◎ เป็ นกระบวนการที่ใช้ ฝึกอินทรีย์ให้ มีพฤติกรรมตามทีต่ ้ องการ โดย
ผู้ทา การฝึ กจะให้ สิ่งเสริมแรงทันทีกบั พฤติกรรมใดๆ ทีผ่ ู้ฝึกเห็นว่ า
เกือบเป็ น พฤติกรรมทีต่ ้ องการหรือเกือบเป็ นพฤติกรรมทีถ่ ูกต้ อง
◈ สกินเนอร์ พบว่ าถ้ าต้ องการให้ พฤติกรรมแบบการกระทาคงอยู่
จะต้ องให้ การเสริมแรง (Reinforcement) ซึ่งสกินเนอร์ แบ่ งสิ่ งเสริมแรง
เป็ น 2 ชนิด คือ
1. สิ่ งเสริมแรงบวก (Positive Reinforcer)
2. สิ่ งเสริมแรงลบ (Negative Reinforcer)
การฝึ กแบบหลบหนี (Escape conditioning)

สิ่ งเร้ าบางอย่ างอาจทาให้ อนิ ทรีย์ ไม่ ชอบ ไม่ พอใจ หรือเป็ นสิ่ งเร้ าทีน่ ่ ากลัว
หรือเป็ นอันตราย สิ่ งเสริมแรงก็มักจะออกมารูปของความปลอดภัยจากสิ่ ง
ที่น่ากลัวหรือเป็ นอันตราย เพราะอินทรีย์ไม่ สามารถที่จะยับยั้งสิ่ งเร้ าที่
เป็ นอันตรายไม่ ให้ เกิดขึน้ ได้ แต่ อาจจะหลีกเลีย่ งโดยการหลบหนีได้
การฝึ กแบบหลบเลีย่ ง (Avoidance conditioning)
◎ ตัวเสริมแรงคือความปลอดภัยจากสิ่ งเร้ าทีน
่ ่ ากลัวหรือเป็ นอันตราย
☞ เป็ นการตอบสนองเพือ่ เป็ นการป้องกันหรือยับยั้งไม่ ให้ สิ่งเร้ าที่
เป็ นอันตรายเกิดขึน้ การตอบสนองแบบหลีกเลีย่ งบางครั้งก็มีประโยชน์
เช่ น เวลาเราได้ ยนิ พยากรณ์อากาศว่ าวันนีต้ อนเย็นฝนจะตก เรามักจะนา
ร่ มมาด้ วยเพือ่ ที่จะได้ ไม่ เปี ยกฝน
การทาโทษ (Punishment)
• เป็ นการหยุดพฤติกรรมทีไ่ ม่ พงึ ปรารถนานั้น
• การเสริมแรงลบเป็ นการให้ รางวัลหลังจากอินทรีย์แสดงพฤติกรรมทีพ่ งึ
ปรารถนา

ความแตกต่ างของการลงโทษกับการให้ รางวัล


● การทาโทษอาจทาได้ โดยการทาโทษทางด้ านร่ างกายหรือด้ วยคาพูด
● การให้ รางวัลถ้ าให้ แล้วสามารถทีจ่ ะทานายได้ ว่าผู้เรียนจะมีพฤติกรรมนั้นซ้า
อีก
ลักษณะของสิ่งเสริมแรง
• สิ่ งเสริมแรงทีไ่ ม่ ต้องการวางเงื่อนไข (Primary Reinforcer) หมายถึง สิ่ ง
เร้ าทีม่ ีคุณสมบัติทใี่ ช้ เป็ นรางวัลได้ เลยโดยไม่ ต้องเรียนรู้หรือนาไปเชื่อมโยง
กับสิ่ งเร้ าอืน่
• สิ่ งเสริมแรงทีต่ ้ องวางเงื่อนไข (Secondary Reinforcer) หมายถึง สิ่ งเร้ าที่
ตอนแรกไม่ มคี ุณสมบัติทจี่ ะใช้ เป็ นสิ่ งเสริมแรง แต่ พอนามาเชื่อมโยงกับสิ่ ง
เสริมแรงที่ไม่ ต้องวางเงื่อนไข ทาให้ สามารถใช้ เป็ นสิ่ งเสริมแรงได้
ชนิดของการเสริมแรง
• แบ่ งออกเป็ น 2 ชนิด ดังนี้
☞ การเสริมแรงทุกครั้งทีอ่ นิ ทรีย์มพี ฤติกรรมทีถ่ ูกต้ อง
(Continuous Reinforcement)
☞ การเสริมแรงเป็ นครั้งคราว
(Partial Reinforcement หรือ Intermittent Reinforcement)
การเสริมแรงเป็ นครั้งคราว

⋆ แบ่งออกเป็ น 4 ประเภท
การเสริมแรงตามอัตราส่ วนที่แน่ นอน (Fixed Ratio Schedule)
การเสริมแรงตามอัตราส่ วนไม่ แน่ นอน (Variable Ratio Schedule)
การเสริมแรงตามเวลาที่แน่ นอน (Fixed Interval Schedule)
การเสริมแรงตามเวลาที่ไม่ แน่ นอน (Variable Interval Schedule)

You might also like