You are on page 1of 5

การตอบข้อสอบกฎหมาย

----------
ส่วนสำาคัญในการตอบข้อสอบแบบตุ๊กตา จะประกอบไปด้วย ๔ ส่วน ดังนี้
• ส่วนแรก คือ การกำาหนดประเด็น ซึ่งได้จากการอ่านโจทย์ แล้วแยกแยะสิ่งที่โจทย์
ต้องการให้ตอบ เพื่อจะได้ตอบให้ครบถ้วน ซึ่งในส่วนนี้ อาจขึ้นต้นย่อหน้าด้วยถ้อยคำาว่า

“จากข้อเท็จจริงที่โจทย์ให้ มีประเด็นที่ต้องพิจารณา ดังนี้ ”

• ส่วนที่สอง คือ การวางหลักกฎหมาย เมื่อกำาหนดประเด็นแล้วก็ต้องแยกตอบตาม


ประเด็นต่างๆ โดยในประเด็นใหญ่น้ ั นต้องมีการยกหลักกฎหมายขึ้นมาอธิบาย ซึ่งในส่วนนี้ อาจ
ขึ้นต้นย่อหน้าด้วยถ้อยคำาว่า

“จากประเด็นปั ญหาข้างต้น มีหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ ”

• ส่วนที่สาม คือ การปรับบทกฎหมายกับข้อเท็จจริง เพื่อวินิจฉัยว่า กรณี น้ ั นๆ ผลจะออกมา


เป็ นประการใด เมื่อกำาหนดประเด็นแล้วก็ต้องมีการปรับบทกฎหมายเข้ากับข้อเท็จจริง โดย
เป็ นการพิจารณาว่าตามข้อเท็จจริงที่โจทย์ให้มานั้ น เมื่อนำากฎหมายมาใช้แล้ว ผลที่ได้รบ
ั จะเป็ น
อย่างไร ซึ่งในส่วนนี้ อาจขึ้นต้นย่อหน้าด้วยถ้อยคำาว่า

“จากข้อเท็จจริงในประเด็นที่กำาหนด ประกอบกับหลักกฎหมายที่ยกมาข้างต้น
วินิจฉัยได้ว่า”

• ส่วนที่ส่ี คือ สร๊ป ส่วนนี้ ต้องตอบคำาถามของประเด็นที่ได้ต้ ังไว้ ซึ่งในส่วนนี้ อาจขึ้นต้น


ย่อหน้า
ด้วยถ้อยคำาว่า

“จากที่กล่าวมา สร๊ปได้ว่า”

๒. การตอบข้อสอบแบบวินิจฉัย คือ การตอบที่ไม่ตอ


้ งวางหลักกฎหมายแยกต่างหากจากส่วน
ปรับบทกฎหมาย หรือกล่าวอีกนั ยหนึ่ งก็คือการนำาส่วนที่สองและส่วนที่สามของการตอบแบบวาง
หลักมาผสมผสานกัน โดยมีการอธิบายหลักกฎหมายสอดแทรกเข้าไปในการวินิจฉัย

ตัวอย่างเช่น

การที่………………………………………………………………….นั้ น
ประมวลกฎหมาย………………………..วางหลัก
ว่า…………………………………………………………..
กรณี น้ ี ………………………………………………………………………………

ดังนั้ น ……………………………………………………………..

หมายเหต๊ ๑. คัดลอกและสร๊ปข้อความบางส่วนจากหนั งสือ การศึกษากฎหมายและ


การตอบ
ข้อสอบกฎหมาย (สำาหรับผ้้เริม
่ ต้น ) ของ รองศาสตราจารย์ มานิ ตย์ จ๊มปา
คณะนิ ตศ
ิ าสตร์ จ๊ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
๒. ผ้้สนใจในรายละเอียดเพิ่มเติมหาด้ได้ใน มานิ ตย์ จ๊มปา, การศึกษากฎหมาย
และ
การตอบข้อสอบกฎหมาย (สำาหรับผ้้เริม
่ ต้น ), พิมพ์ครั้งที่ ๕, กร๊งเทพฯ :
นิ ติธรรม,
๒๕๔๘. ๒๗๔ หน้า

ภาค 1
ผู้เสียหาย (มาตรา 2(4))
คำารูองทุกข์ (มาตรา 2(7))
อำานาจจัดการแทนผู้เสียหาย (มาตรา 3)
ผู้มีอำานาจจัดการแทนผู้เสียหาย (มาตรา 4-6 )
การตั้งผู้แทนเฉพาะคดี (มาตรา 6)
การดำาเนิ นคดีอาญานิ ติบุคคล (มาตรา 7)
สิทธิของผู้ถ้กจับหรือผู้ตูองหา (มาตรา 7/1)
สิทธิของผู้เสียหายและจำาเลยในชั้นพิจารณาคดีของศาล (มาตรา 8)
การใชูล่ามแปล (มาตรา 13)
การดำาเนิ นคดีผู้วิกลจริต (มาตรา 14)
การนำา ป.วิ.พ. มาใชูบังคับ (มาตรา 15)
อำานาจสืบสวน (มาตรา 17)
อำานาจสอบสวน (มาตรา 18)
ความผิดเกิดขึ้นหลายทูองที่ (มาตรา 19)
อำานาจสอบสวนความผิดเกิดนอกราชอาณาจักร (มาตรา 20)
ผู้ช้ข
ี าดการใหูเป็ นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ (มาตรา 21)
เขตอำานาจศาล (มาตรา 22,24)
การโอนคดี (มาตรา 23,26)
ผู้มีอำานาจฟู องคดีอาญา (มาตรา 28)
ผู้เสียหายฟู องคดีแลูวตายลง (มาตรา 29)
โจทก์ร่วม (มาตรา 30-31)
การรวมพิจารณา (มาตรา 33)
ถอนฟู อง (มาตรา 35)
ผลของการถอนฟู อง (มาตรา 36)
คดีอาญาเลิกกัน (มาตรา 37-38)
สิทธินำาคดีอาญามาฟู องระงับ (มาตรา 39)
การฟู องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่ องกับคดีอาญา (มาตรา 40)
การเรียกทรัพย์สินหรือราคาแทนผู้เสียหาย (มาตรา 43-44)
สิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทนของผู้เสียหาย (มาตรา 44/1-44/2)
การฟั งขูอเท็จจริงคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่ องกับคดีอาญา (มาตรา 46)
คำาพิพากษาส่วนแพ่ง (มาตรา 47)
อำานาจศาลในการสั่งคืนของกลาง (มาตรา 49)
อายุความคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่ องกับคดีอาญา (มาตรา 50-51)
หมายเรียก (มาตรา 52-53)
การส่งหมายเรียก (มาตรา 55)
การส่งหมายเรียกพยานของศาล (มาตรา 55/1)
ผู้มีอำานาจออกหมายอาญา (มาตรา 57-58)
ผู้มีอำานาจขอใหูศาลออกหมายอาญา (มาตรา 59-59/1)
หมายตูองทำาเป็ นหนังสือ (มาตรา 60)
เหตุท่ีจะออกหมายจับ (มาตรา 66)
การจัดการตามหมายจับ (มาตรา 77)
การจับโดยไม่ตูองมีหมายจับของศาล (มาตรา 78)
การจับโดยราษฎร (มาตรา 79)
การจับในที่รโหฐาน (มาตรา 81)
วิธีการจับ (มาตรา 83)
หนูาที่ของผูจ้ ับเมื่อถึงที่ทำาการของพนักงานสอบสวน (มาตรา 84)
อำานาจในการควบคุมหรือปล่อยกู้ผู้ถ้กจับ (มาตรา 84/1)
การขอคืนทรัพย์ท่ีถ้กยึดระหว่างสอบสวนจากพนักงานสอบสวน (มาตรา 85/1)
อำานาจในการควบคุมตัวผู้ถ้กจับ (มาตรา 86-88)
การควบคุมและขัง (มาตรา 71)
การขังหรือจำาคุกในสถานที่อ่ ืนนอกจากเรือนจำา (มาตรา 89-89/2)
เหตุท่ีจะออกหมายคูน (มาตรา 69)
การคูนในที่รโหฐาน (มาตรา 92)
การคูนในที่สาธารณสถาน (มาตรา 93)
วิธีการคูนในที่รโหฐาน (มาตรา 94-95)
เวลาในการคูนที่รโหฐาน (มาตรา 96)
เจูาพนักงานผู้มีอำานาจคูน (มาตรา 97)
การจับบุคคลหรือยึดสิ่งของที่ไดูจากการคูน (มาตรา 98)
การคูนในที่รโหฐานตูองคูนต่อหนูาผู้ครอบครอง (มาตรา 102)
การคูนตัวบุคคลซึ่งอย่้ในที่รโหฐาน (มาตรา 100)
การคูนตัวผู้ตูองหา (มาตรา 85)
การขอปล่อยตัวผู้ถ้กควบคุมหรือขังโดยผิดกฎหมาย (มาตรา 90)
การปล่อยชั่วคราว (มาตรา 106)
ขูอพิจารณาการสั่งปล่อยชั่วคราว (มาตรา 108)
เหตุของการไม่อนุญาตใหูปล่อยชั่วคราว (มาตรา 108/1-108/2)
การปล่อยชั่วคราวในคดีท่ีมีโทษจำาคุกเกินสิบปี (มาตรา 109)
ประกันและหลักประกันในการปล่อยชั่วคราว (มาตรา 110)
กำาหนดเวลาในการปล่อยชั่วคราวโดยพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ (มาตรา 113)
กรณีหลักประกันเป็ นเงินสดหรือหลักทรัพย์อ่ ืน (มาตรา 113/1)
ผู้ตูองหาหรือจำาเลยหลบหนี ระหว่างประกัน (มาตรา 117)
สัญญาประกันสิ้นสุด (มาตรา 118)
กรณีผิดสัญญาประกัน (มาตรา 119)
การอุทธรณ์คำาสั่งไม่อนุญาตใหูปล่อยชั่วคราว (มาตรา 119 ทวิ)
ภาค 2
พนักงานอัยการฟู องคดีไดูเมื่อมีการสอบสวนก่อน (มาตรา 120)
การสอบสวนคดีความผิดต่อส่วนตัว (มาตรา 121)
กรณีท่ีพนักงานสอบสวนไม่ตูองทำาการสอบสวน (มาตรา 122)
การจดบันทึกคำารูองทุกข์ท่ีผู้เสียหายเป็ นเด็ก (มาตรา 124/1)
การแกูหรือถอนคำารูองทุกข์ (มาตรา 126)
พนักงานสอบสวนใหูเจูาพนักงานอื่นทำาการแทน (มาตรา 128)
การชันส้ตรพลิกศพยังไม่เสร็จหูามฟู องผู้ตูองหาต่อศาล (มาตรา 129)
การสอบสวน (มาตรา 130-131/1)
คำากล่าวโทษ (มาตรา 127)
อำานาจพนักงานสอบสวนในการรวบรวมพยานหลักฐาน (มาตรา 132)
การสอบปากคำาผู้เสียหายหรือพยาน (มาตรา 133)
การแจูงขูอหา (มาตรา 134)
สิทธิในการมีทนายความของผู้ตูองหา (มาตรา 134/1-134/2)
สิทธิผู้ตูองหาใหูทนายความเขูาฟั งการสอบปากคำาตน (มาตรา 134/3)
การแจูงสิทธิในชั้นสอบสวนแก่ผู้ตูองหา (มาตรา 134/4)
หูามมิใหูพนักงานสอบสวนจ้งใจผู้ตูองหา (มาตรา 135)
การดำาเนิ นคดีหลังการสอบสวนเสร็จ (มาตรา 140-144)
คำาสั่งไม่ฟูองของพนักงานอัยการ (มาตรา 145-147)
การสอบปากคำาผู้เสียหายหรือพยานที่เป็ นเด็กในชั้นสอบสวน (มาตรา 133 ทวิ-133 ตรี)
การสอบสวนผู้ตูองหาอายุไม่เกินสิบแปดปี (มาตรา 134/2 ประกอบมาตรา 133 ทวิ)
การชันส้ตรพลิกศพ (มาตรา 148)
หนูาที่ปฏิบัติเมื่อความตายผิดธรรมชาติเกิดขึ้น (มาตรา 149)
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการชันส้ตรพลิกศพ (มาตรา 150)
โทษของผู้กระทำาแก่ศพหรือสภาพแวดลูอมที่ศพอย่้ (มาตรา 150 ทวิ)
การสั่งผ่าศพหรือส่งศพไปยังแพทย์หรือพนักงานแยกธาตุ (มาตรา 151)
หนูาที่ของแพทย์หลังชันส้ตรพลิกศพ (มาตรา 152)
การขุดศพที่ฝังขึ้นตรวจ (มาตรา 153)
หนูาที่ของผู้ทำาการชันส้ตรพลิกศพ (มาตรา 154-156)
ภาค 3
บรรยายฟู อง (มาตรา 158)
การบรรยายฟู องในกรณีขอใหูเพิ่มโทษ (มาตรา 159)
การตรวจคำาฟู อง (มาตรา 161)
การไต่สวนม้ลฟู อง (มาตรา 162,165)
การแกูไขคำาฟู อง คำาใหูการ (มาตรา 163-164)
โจทก์ไม่มาศาลตามกำาหนดนัด (มาตรา 166)
คดีมีม้ลใหูประทับฟู อง (มาตรา 167)
หมายเรียกหรือหมายจับจำาเลย (มาตรา 169)
คำาสั่งมีม้ลย่อมเด็ดขาด (มาตรา 170)
การเรียกสำานวนการสอบสวนมาในชั้นไต่สวนม้ลฟู อง (มาตรา 171)
การพิจารณาคดีอาญาตูองทำาโดยเปิ ดเผย (มาตรา 172)
การพิจารณาคดีและสืบพยานลับหลังจำาเลย (มาตรา 172 ทวิ)
จำาเลยที่เป็ นเด็กอายุไม่เกินสิบแปดปี อูางตนเองเป็ นพยาน (มาตรา 172 ตรี)
การตั้งทนายความใหูจำาเลย (มาตรา 173)
การตรวจพยานหลักฐานก่อนสืบพยาน (มาตรา 173/1-173/2)
หนูาที่นำาสืบในคดีอาญา (มาตรา 174)
การเรียกสำานวนการสอบสวนจากพนักงานอัยการ (มาตรา 175)
คดีท่ีจำาเลยใหูการรับสารภาพ (มาตรา 176)
การพิจารณาลับ (มาตรา 177)
การอ่านคำาพิพากษา (มาตรา 182)
ผู้พิพากษาที่ทำาคำาพิพากษา (มาตรา 183)
ผู้พิพากษามีความเห็นแยูง (มาตรา 184)
เหตุยกฟู อง (มาตรา 185)
ขูอสำาคัญของคำาพิพากษาหรือคำาสั่ง (มาตรา 186)
การแกูไขคำาพิพากษา (มาตรา 190)
การขอใหูศาลอธิบายคำาพิพากษาหรือคำาสั่ง (มาตรา 191)
คำาพิพากษาตูองไม่เกินคำาขอ (มาตรา 192)
ภาค 4
อุทธรณ์ (มาตรา 193)
คดีตูองหูามอุทธรณ์ในปัญหาขูอเท็จจริง (มาตรา 193 ทวิ)
การรับรองอุทธรณ์ (มาตรา 193 ตรี)
การวินิจฉัยคดีท่ีอุทธรณ์แต่ขูอกฎหมาย (มาตรา 194)
ขูอกฎหมายที่อุทธรณ์ไดู (มาตรา 195)
คำาสั่งระหว่างพิจารณา (มาตรา 196)
กำาหนดเวลายื่นอุทธรณ์ (มาตรา 198)
อุทธรณ์คำาสั่งไม่รับอุทธรณ์ (มาตรา 198 ทวิ)
การยื่นอุทธรณ์ต่อพัศดี (มาตรา 199)
การส่งสำาเนาอุทธรณ์ (มาตรา 200-201)
ถอนอุทธรณ์ (มาตรา 202)
การพิจารณาของศาลอุทธรณ์ (มาตรา 203-207)
กระบวนการพิจารณาที่ไม่ชอบ (มาตรา 208)
การพิพากษาเพิ่มเติมโทษ (มาตรา 212)
เหตุและลักษณะคดี (มาตรา 213)
ฎีกา (มาตรา 216)
คดีตูองหูามฎีกาในปัญหาขูอเท็จจริง (มาตรา 218)
คดีหูามค่้ความฎีกาในปัญหาขูอเท็จจริง (มาตรา 219)
หูามฎีกาในปัญหาวิธีการเพื่อความปลอดภัย (มาตรา 219 ทวิ)
คดีตูองหูามฎีกาเกี่ยวกับโทษกักขัง (มาตรา 219 ตรี)
หูามค่้ความฎีกาในคดีท่ีศาลล่างทั้งสองยกฟู อง (มาตรา 220)
การรับรองฎีกา (มาตรา 221)
การวินิจฉัยคดีท่ีฎีกาแต่ขูอกฎหมาย (มาตรา 222)
การอุทธรณ์คำาสั่งไม่รับฎีกา (มาตรา 224)
การพิจารณาและคำาพิพากษาในชั้นฎีกา (มาตรา 225)
ภาค 6
การบังคับคดีตามคำาพิพากษา (มาตรา 245-251)
ทุเลาการบังคับโทษจำาคุก (มาตรา 246)
ทุเลาการบังคับโทษการประหารชีวิต (มาตรา 247-248)
การบังคับคดีในส่วนแพ่ง (มาตรา 249)
การยึดทรัพย์สินใชูค่าธรรมเนี ยมศาล (มาตรา 251)
ค่าธรรมเนี ยม (มาตรา 252-258)
ภาค 7
อภัยโทษ เปลี่ยนโทษหนักเป็ นเบา และลดโทษ (มาตรา 259-267)

You might also like