You are on page 1of 3

กฎหมายวิธีสบัญญัติ 1 สอบไล่ภาค 2/2531

โจทย์
นายขวัญฟ้ องขับไล่นายเรืองออกจากที่ดินของนายขวัญ ซึ่งมี
ราคา 5,000 บาท (ห้าพันบาทถ้วน) ต่อศาลจังหวัดตราด นายเรือง
ให้การต่อส้้ว่า ที่พิพาทเป็ นของนางเริ่ม นางเริมอนุญาตให้นายเรือง
อย่้ นายขวัญไม่มีอำานาจฟ้ อง ปรากฏว่า ผ้้พิพากษาศาลจังหวัดตราด
แค่ ค นเดี ย วออกนั่ งพิ จ ารณาคดี ดั งกล่ าว สื บ พยานโจทก์จำา เลยเสร็ จ
แล้ว ผ้้พิพากษาคนเดียวนั ้นจึงพิพากษาคดีกล่าว ดังนี้ การพิจารณา
และพิพากษาคดีนั้นชอบด้วยกฎหมายหรือไม่

เฉลย
ตามพระธรรมน้ ญ ศาลยุ ติ ธ รรม มาตรา 22 (4) และ (5)
ในศาลชัน ้ ต้น ผ้้พิพากษาคนเดียวมีอำา นาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่ง
ซึ่งราคาทรัพย์สินที่พิพาทหรือจำา นวนเงินฟ้ องไม่เกินหนึ่ งหมื่ นบ าท
แต่ไม่เกินห้าหมื่นบาท แต่ผ้พิพากษาคนเดียวไม่มีอำานาจพิจารณาและ
พิพากษาคดีไม่มีทุนทร ัพย์
ตามปั ญหา ทัง้ การพิจารณาและพิพากษาคดีนี้ของผ้้พิพากษา
คนเดียวไม่ชอบด้วย กฎหมายเพราะคดีนายขวัญฟ้ องขับไล่นายเรือง
เป็ นจำาเลยให้ออกจากที่ ดินของนายขวัญ ถือว่าเป็ นคดีไม่มีทุนทรัพย์
ถึ งแม้ว่ า นายเรื องจะต่อ ส้้ว่ าที่ พิ พาทเป็ น ของนางเริ่ ม ก็ จ ริ ง แต่ มิ ไ ด้
ต่อส้้ว่าเป็ นกรรมสิทธิข์ องนายเรืองเอง ไม่ใช่เป็ นการกล่าวแก้เป็ นข้อ
พิพาทด้วยกรรมสิทธิ ์ จึงทำาให้คดีกลายเป็ นคดีทุนทรัพย์ขึ้นมา คดีไม่
อย่้ ใ นอำา นาจผ้้ พิ พ ากษาคนเดี ย วที่ จ ะพิ จ ารณาพิ พ ากษาได้ ต ามพ ระ
ธรรมน้ ญ ศาลบุ ติ ธ รรม มาตรา 22 ต้ อ งมี ผ้ พิ พ ากษาสองคนนั่ ง
พิ จ ารณา และพิ พ ากษาคดี ต ามพระธรรมน้ ญ ศาลยุ ติ ธ รรมและ
พิพากษา

โจทย์
นายปองเทพฟ้ องสมาคมสุโขทัยธรรมาธิราช ซึ่งตนเป็ นสมาชิก
เป็ นจำาเลย หาว่ามติของที่ประชุมใหญ่ของสมาคมที่เลือกนางสาวเอมิ
กาซึ่งไม่ใ ช่สมาชิกเป็ นกรรมการของสมาคมนั ้นตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา 1291
สมาคมสุโขทัยธรรมาธิราชจำาเลยขาดนั ดยื่นคำาให้การ
ระหว่ า งพิ จ าณา นางสาวเอมิ ก ายื่ นคำา ร้ อ งสอดว่ า ตนเป็ น
สมาชิ กของสมาคมนั ้ นและได้ รับ เลื อ กตั ง้ เป็ น กรรมการของสมาค ม
โดยถ้กต้องตามข้อบังคับแล้ว ขอให้ยกฟ้ อง
นายปองเทพโจทก์คัดค้านคำาร้องสอดว่าเมื่อคดีนี้จำาเลยขาดนั ด
ยื่ นค ำให้ก าร ผ้้ ร้อ งจะร้ องสอดเข้า มาในคดีไ ม่ได้ เพราะเป็ น การใช้
สิทธิต่อส้้คดีกับโจทก์ฝ่ายเดียว เท่ ากับ ผ้้ร้ องสอดเข้า มาใช้ สิท ธิแทน
จำาเลยนั ้นเอง
ให้ วิ นิ จ ฉั ย ว่ า นางสาวเอมิ ก ามี สิ ท ธิ ร้ อ งสอดเข้ า มาในคดี ต าม
คำาร้องได้หรือไม่

เฉลย
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 57 บัญญัติว่า
“บุคคลภายนอกซึ่งมิใช่ค่้ความ อาจเข้ามาเป็ นค่้ความได้ด้วยการร้อง
สอด
(1) ด้วยความสมัครใจเองเพราะเห็นว่า เป็ นการจำา เป็ นเพื่อยัง
ให้ได้รับความรับรอง คุ้มครองหรือบังคับตามสิทธิของตนที่มีอย่้ โดย
ยื่นคำาร้องขอต่อศาลที่คดีนั้นอย่้ในระหว่างพิจารณา”
และมาตรา 58 บัญญัติว่า
“ ผ้้ ร้ อ งสอดที่ ไ ด้ เ ข้ า เป็ น ค่้ ค วามตามอนุ ม าตรา (1) และ (3)
แห่งมาตราก่อนนี้ มีสิทธิเสมือนหนี่ งว่าตนได้ฟ้องหรือถ้กฟ้ องเป็ นคดี
เรื่องใหม่ ซึ่งโดยเฉพาะผ้้ร้องสอดอาจนำ าพยาน
หลักฐานใหม่มาแสดงคัดค้านเอกสารที่ได้ย่ ืนไว้ ถามค้านพยานที่ได้
สิบมาแล้ว และคัดค้านพยานหลักฐานที่ได้สืบไปแล้วก่อนที่ตนได้ร้อง
สอดอาจอุ ทธรณ์ ฎีกาคำา พิพากษาหรื อคำา สั่งของศาลตามที่ กฎหมาย
บัญญัติไว้ และอาจได้รับหรอถ้กบังคับให้ใช้คาฤชาธรรมเนี ยม
ห้า มมิ ให้ผ้ร้ องสอดที่ ได้เป็ น ค่้ค วามตามอนุ ม าตรา (2) แห่ง
มาตราก่อน ใช้สิทธิอย่างอื่นนอกจากสิทธิท่ีมีอย่้แก่ค่้ความฝ่ ายซึ่งตน
เข้ าเป็ นโจทก์ร่วมหรือจำาเลยร่วมในชัน ้ พิจารณาเมื่อตนร้องสอด และ
ห้ามมิให้ใช้สิทธิเช่นว่านั ้นในทางที่ขัดกับสิทธิของโจทก์หร ือจำาเลยเดิม
ฯลฯ”
ตามปั ญหา นางสาวเอมิกามีสิทธิท่ีจะเข้ามาในคดี เพื่อขอความ
รับรอง โดยการร้องสอดเข้ามาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
แพ่งมาตรา 57 (1) เพราะได้ถ้กโต้แย้งสิทธิด้วย แม้สมาคมสุโขทัย
ธรรมาธิราชจำาเลยจะขาดนั ดยื่นคำาให้การ ก็หาเป็ นการตัดสิทธินางสาว
เอมิ ก าผ้้ ร้ อ งสอดไม กรณี ไม่ ต้ อ งห้ า มตามประมวลกฎหมายวิ ธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 58 วรรคสอง

You might also like