You are on page 1of 30

สรุปกฎหมายวิธีสบัญญัติ 1

กฎหมายวิธีสบัญญัติ 1 หลักทัว่ไปในการพิจารณาความแพ่ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งในกฎหมายวิธีสบัญญัติ 1 มีเน้อ
ื หาท่ีนำามาออกข้อสอบได้ 3
กลุ่ม ดังนี้ (หน่วยเน้น หน่วยท่ี 3,5,8,9,10,12)

กลุ่มท่ี 1 มาตราท่ีควรให้ความสนใจ (หน่วยท่ี 3,5)


1. มาตรา 4 **ทัง้หลาย โดยเฉพาะมาตรา 4, 4 ทวิ, 4 ตรี, 4 จัตวา เร่ ืองเขตอำานาจศาล +
มาตรา 2, 3 แยกให้ดีระหว่างคำาฟ้ อง กับคำาร้องขอ และประเด็นในเร่ ืองคำาฟ้ องอันเก่ียวกับ
อสังหาริมทรัพย์ ตามมาตรา 4 ทวิ
2. มาตรา 18* เร่ ืองการย่ ืนและตรวจคำาคู่ความ ให้ความสนใจเป็ นพิเศษในการรับและไม่
รับคำาคู่ความว่าทำาให้คดีนัน
้ เสร็จเด็ดขาดหรือไม่ หรือเป็ นคำาสัง่ในระหว่างพิจารณา และมีสิทธิ
ท่ีจะอุทธรณ์ฎีกาได้ทันทีหรือไม่
3. มาตรา 23 เร่ ืองการย่ ืนขอขยายระยะเวลา มี 2 กรณี
4. มาตรา 55 เป็ นมาตราท่ีเร่ิมต้นในคดีแพ่ง โดยการท่ีจะฟ้ องคดีแพ่งได้ต้องถูกโต้แย้งซ่งึ
สิทธิ หรือมีกรณีท่ีจำาเป็ นต้องใช้สิทธิทางศาล
5. มาตรา 56 กรณีท่ีความสามารถของผู้ย่ืนฟ้ องบกพร่อง และการแก้ไขข้อบกพร่องเหล่านัน ้
6. มาตรา 57** เร่ ืองการร้องสอด ทำาความเข้าใจให้ดีกับการร้องสอดทัง้ 3 กรณี แยกความ
แตกต่างระหว่างการร้องสอดเข้ามาเป็ นโจทก์หรือจำาเลยฝ่ ายเดียวกันตรมมาตรา 57(2) กับ
การเป็ นคู่ความร่วมตามมาตรา 59
7. มาตรา 58** เร่ ืองผลของการร้องสอดทัง้ 3 กรณี ให้ความสนใจในเร่ ืองสิทธิท่ีได้จากการ
ร้องสอดว่าเท่าเทียมหรือเหนือกว่าคู่ความเดิมอย่างไร
8. มาตรา 59** เร่ ืองคู่ความร่วม ดูเร่ ืองกรณีท่ีจะเข้ามาเป็ นคู่ความร่วม และผลของการเป็ น
คู่ความร่วม
9. มาตรา 60 เร่ ืองการตัง้ผู้แทนในการดำาเนินคดี และการตัง้ทนายความ
10. มาตรา 74-77* เร่ ืองการส่งคำาคู่ความและเอกสาร ในกรณีท่ีส่งแล้วไม่มีคู่ความรับ หรือ
อายุยงั ไม่ถึง 20 ปี
11. มาตรา 78 **และ 79** เร่ ืองการวางหมาย และการปิ ดหมาย แยกความแตกต่างให้ได้
และดูด้วยว่าหน้าท่ีในการวางหมายหรือการปิ ดหมาย กรณีใดท่ีเป็ นอำานาจศาล กรณีใดท่ีเป็ น
อำานาจของเจ้าพนักงานฝ่ ายปกครอง

กลุ่มท่ี 2 เร่ ืองคำาพิพากษาและคำาสัง่ และการดำาเนินคดีอย่างคนอนาถา มีมาตราท่ีควรให้


ความสนใจดังนี้ (หน่วยท่ี 8-9)
1. มาตรา 144*** และมาตรา 148*** เร่ ืองการดำาเนินกระบวนพิจารณาซ้ำา และการฟ้ อง
ซ้ำา ดูความแตกต่างให้ดี สังเกตได้ว่าในการดำาเนินกระบานพิจารณาซ้ำา คดีนัน ้ ยังไม่ถึงท่ีสุด
ตามมาตรา 147 แต่มีการวินิจฉัยหรือชีข้าดในประเด็นแห่งคดีนัน ้ แล้ว แต่การฟ้ องซ้ำานัน้
เป็ นกรณีท่ีคดีนัน ้ ถึงท่ีสุดตามมาตรา 147 แล้ว ทัง้ 2 กรณีเหมือนกันตรงท่ีเป็ นการห้ามคู่
ความเหมือนกัน ให้เปรียบเทียบกับกรณีฟ้องซ้อนตามมาตรา 173 วรรค 2(1) ด้วยซ่ ึง
เป็ นการห้ามโจทก์ ไม่ใช่การห้ามคู่ความ
2. มาตรา 145* เร่ ืองผลของคำาพิพากษาหรือคำาสัง่ว่ามีผลผูกพันคู่ความ ยกเว้น 2 กรณี
3. มาตรา 147 กรณีท่ีถือว่าคำาพิพากษาหรือคำาสัง่เป็ นท่ีสุด
4. มาตรา 155** และมาตรา 156*** เร่ ืองกรณีการขอดำาเนินคดีอย่างคนอนาถา ดูขัน ้
ตอน การสาบานตน กรณีท่ีจะใช้สิทธิในการอุทธรณ์คำาสัง่ท่ีไม่ให้มีการดำาเนินคดีอย่างคน
อนาถาว่าสามารถใช้สิทธิได้ 2 ประการแต่จะต้องเลือกเพียงอย่างใดอย่างหน่ ึงตามมาตรา
156 วรรค 4 และวรรค 5

กลุ่มท่ี 3 เร่ ืองพยานหลักฐาน ควรให้ความสนใจเร่ ืองต่างๆ ดังนี้ (หน่วยท่ี 10,12)


1. เร่ ืองหน้าท่ีนำาสืบและภาระการพิสูจน์***
2. มาตรา 84*** สำาคัญมาก เป็ นหลักของผู้ใดกล่าวอ้าง ผู้นัน ้ นำาสืบ ให้ดูด้วยว่ามีกรณีไหน
บ้างท่ีเป็ นการยกเว้นหลักการของผู้ใดกล่าวอ้าง ผู้นัน
้ นำาสืบ แยกความแตกต่างให้ได้ระหว่าง
หน้าท่ีนำาสืบ หน้าท่ีนำาสืบก่อน และภาระการพิสูจน์
3. มาตรา 93* เร่ ืองการอ้างเอกสารต้องอ้างต้นฉบับ ยกเว้นอยู่ 3 กรณี ให้ดุมาตรา 93(2)
ให้ดีเพราะต้องนำาไปใช้ในมาตรา 94 ด้วย
4. มาตรา 94**** สำาคัญมากๆ ออกข้อสอบบ่อยท่ีสุดในเร่ ืองพยานหลักฐาน เป็ นกรณีท่ี
กฎหมายบังคับว่าต้องมีพยานเอกสารมาแสดง และข้อยกเว้น การท่ีจะตอบข้อสอบมาตรา 94
ได้ดี ต้องมีความรู้กฎหมายแพ่งในเร่ ืองสัญญาต่างๆอย่างดีด้วย ว่าสัญญาแบบไหนต้องทำาเป็ น
หนังสือ ทำาเป็ นหนังสือ + จดทะเบียน หรือทำาหลักฐานเป็ นหนังสือ ต้องเข้าใจความหมาย
ของคำาว่าไม่สมบูรณ์ตามมาตรา 94 วรรคท้ายว่าหมายถึงอะไร
ไม่ออกเร่ ืองพยานบุคคล การมาศาลและการถามพยาน และกฎหมายพยานในส่วนของวิธี
พิจารณาความอาญา

ตัวบทของกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งแต่ละมาตราค่อนข้างยาว เวลาตอบข้อสอบให้เลือก
เอาเฉพาะส่วนท่ีจะตอบข้อสอบมาใช้ เช่น ในเร่ ืองการดำาเนินคดีอย่างคนอนาถา ถามเร่ ืองว่าผู้
ขอดำาเนินคดีมีสิทธิอุทธรณ์คำาสัง่ไม่ให้ดำาเนินคดีอย่างคนอนาถา ก็ให้นำามาตรา 156 วรรค 4
และวรรค 5 มาตอบ โดยไม่ต้องตอบมาตรา 156 วรรค 1 และวรรค 2

การเรียนกฎหมายวิธีพิจารณาความนัน ้ นอกจากความสำาคัญจะอยู่ท่ีตัวบทแล้ว ส่วนท่ีมีความ


สำาคัญไม่แพ้กันคือการอ่านคำาพิพากษาศาลฎีกาซ่ ึงอยู่ในเอกสารการสอน เพราะหลัก
กฎหมายของวิธีพิจารณาความหลายครัง้เกิดจากการตีความของศาลนัน ่ เอง หลายครัง้ท่ี
ข้อสอบเอาคำาพิพากษามาออก ดังนัน ้ จึงควรให้ความสำาคัญด้วย

กระบวนพิจารณาคดีทางแพ่ง
แนวทางศึกษา กระบวนพิจารณาคดีทางแพ่ง ควรอ่านหนังสือให้จบก่อนนะคะ(ขอขอบคุณ พ่ี
นิติเขียวทองค่ะ)
กระบวนพิจารณาคดีทางแพ่ง
กระบวนพิจารณา หมายถึง การกระทำาใดๆ อันเก่ียวด้วยคดี ตาม ปวพ. ม.1 (7) อาจ
เป็ นการกระทำาของคู่ความ เช่น โจทก์ไปย่ ืนคำาฟ้ องก็ได้ จำาเลยย่ ืนคำาให้การก็ได้ หรือการกระ
ทำาของศาล เช่น ศาลออกนัง่พิจารณาหรือสืบพยานหรือมีคำาสัง่ก็ได้
คดีแพ่ง เป็ นคดีของปั จเจกชน หรือคดีฟ้องร้องท่ีเกิดขึ้นระหว่างบุคคลกับบุคคล
วิธีพิจารณาคดีแพ่ง จำาแนกออกได้ 2 ประเภทหลักๆ คือ
(1) วิธีพิจารณาสามัญ เป็ นการพิจารณาพิพากษาคดีท่ีมีความสำาคัญ การฟ้ องต้องทำาเป็ น
หนังสือ การพิจารณาคดีมีความยุ่งยากซับซ้อน
(2) วิธีพิจารณาวิสามัญ เป็ นการพิจารณาพิพากษาคดีแบบรวบรัดและรวดเร็ว อาจฟ้ องด้วย
วาจาได้ เช่น คดีมโนสาเร่ และคดีไม่มีข้อยุง่ ยาก
ศาลยุติธรรม ตามมาตรา 1 แห่งพระธรรมนูญศาลยุติธรรม แบ่งออกเป็ น 3 ชัน ้ คือ ศาลชัน ้
ต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา ……..เม่ อ ื ใดท่ีบุคคลจำาต้องนำาคดีเสนอต่อศาลแพ่ง ปวพ.
ม.170 กำาหนดไว้วา่ ให้ฟ้อง พิจารณาและชีข้าดตัดสินคดีเป็ นครัง้แรกในศาลชัน ้ ต้น เว้นแต่
จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็ นอย่างอ่ ืน

การเสนอคดีต่อศาลแพ่งเกิดขึ้นได้ทางใดบ้าง ?
การศึกษาและทำาความเข้าใจเก่ียวกับการเสนอคดีต่อศาลแพ่งนัน ้ มีองค์ประกอบท่ีต้อง
พิจารณาอยู่ 3 ประเด็น คือ “ใครเสนอ – เสนอเม่ ือใด – เสนอท่ีไหน”
จุดเร่ิมต้นของการทำาความเข้าใจในเร่ ืองนีอ
้ ยู่ท่ี ปวพ. ม.55 ซ่งึ จากบทบัญญัตินี ท
้ ำาให้ได้คำา
ตอบใน 3 ประเด็นข้างต้น กล่าวคือ
1. ใครจะเป็ นผู้เสนอคดีต่อศาลแพ่งนัน ้ คำาตอบคือ บุคคลตามกฎหมายแพ่ง ซ่งึ มีอยู่ 2
ประเภท คือ
(1) บุคคลธรรมดา บุคคลไร้ความสามารถตาม ปวพ.1 (12) จะดำาเนินคดีได้ต่อเม่ ือ
ได้รับการแก้ไขความสามารถก่อน ตาม ปวพ.ม.56
(2) นิติบุคคล ไม่ว่าจะก่อตัง้ขึ้นตามกฎหมายไทย หรือกฎหมายต่างประเทศ
2. แล้วจะเสนอคดีต่อศาลแพ่งเม่ ือใด ปวพ. ม.55 บอกไว้ว่าเสนอได้ 2 ทาง คือ
2.1 เม่ ือมีการโต้แย้งสิทธิจนเกิดเป็ นคดีท่ีมีข้อพิพาทขึ้น หมายความว่า กรณีท่ีมีบุคคลฝ่ าย
หน่ ึงอ้างสิทธิเหนือบุคคลอีกฝ่ ายหน่ ึง และบุคคลอีกฝ่ ายหน่ ึงปฏิเสธสิทธิของบุคคลฝ่ ายนัน ้
หรือมิฉะนัน ้ ก็อ้างสิทธิใหม่ของตนขึ้นมา
2.2 เม่ ือบุคคลจะต้องใช้สิทธิทางศาล หมายความว่า บุคคลนัน ้ มีสิทธิอยู่แล้วตามกฎหมาย
และจำาเป็ นต้องใช้สิทธิทางศาลเพ่ ือขอรับรอง คุ้มครอง หรือบังคับตามสิทธิของตนท่ีมีอยู่หรือ
จะทำาการใดๆ ได้ต่อเม่ ือบุคคลนัน ้ ได้รับอนุญาตจากศาลเป็ นคำาสัง่ ซ่ ึงการใช้สิทธิทางศาลนี้
ถือว่าเป็ นคดีท่ีไม่มีขอ้ พิพาท
ตัวอย่างเช่น - การขอตัง้ผู้แทนโดยชอบธรรม ผู้อนุบาล
- การขอตัง้ผู้จัดการมรดก
- การขอเพิกถอนมติท่ีประชุมใหญ่บริษัทท่ีผิดระเบียบ
- การถอดถอนผู้ชำาระบัญชี
- การขอให้ศาลมีคำาสัง่แสดงว่าได้กรรมสิทธิโ์ดยการครอบครองปรปั กษ์
3. การเสนอคดีต่อศาลแพ่งท่ีไหน ปวพ. ม.55 บอกว่า ให้เสนอต่อศาลแพ่งท่ีมีเขตอำานาจ
ซ่ ึงถ้าอยากจะรู้ว่าศาลแพ่งใดมีเขตอำานาจท่ีจะรับคดี ก็ต้องไปดูรายละเอียดเร่ ืองเขตอำานาจศาล
(ปวพ. ม.2 – 7) ทัง้นี้
3.1 คดีท่ีมีข้อพิพาท ……การเสนอคดีต่อศาลต้องย่ ืนเป็ น “คำาฟ้ อง” มาตราท่ีเก่ียวข้อง
ได้แก่
(1) มาตราท่ีเป็ นหลักกฎหมายทัว่ไป คือ ม.4 (1)
(2) มาตราท่ีเป็ นข้อยกเว้นของมาตรา 4 (1) คือ
- คดีท่ีเก่ียวด้วยหนีเ้หนือบุคคล ได้แก่ ม.3 , ม.4 ตรี
- คดีท่ีเก่ียวด้วยหนีเ้หนือทรัพย์ ได้แก่ ม.4 ทวิ
3.2 คดีท่ีไม่มีข้อพิพาท ……การเสนอคดีต่อศาลต้องย่ ืนเป็ น “คำาร้องขอ” มาตราท่ีเก่ียวข้อง
ได้แก่
(1) มาตราท่ีเป็ นหลักกฎหมายทัว่ไป คือ ม.4 (2)
(2) มาตราท่ีเป็ นข้อยกเว้นของมาตรา 4 (2) คือ ม.4 จัตวา , ม.4 เบญจ , ม.4 ฉ
[ *** ดูรายละเอียดเขตอำานาจศาลแพ่ง (วิ 1) จาก “เอกสารหมายเลข 1” *** ]

เม่ ือเกิดคดีทางแพ่ง (คดีท่ีมีขอ้ พิพาท) จะดำาเนินการอย่างไร ?


1. ปวพ.ม.170 บังคับให้ต้องนำาคดีฟ้องต่อ “ศาลชัน ้ ต้น” ไม่วา่ คำาฟ้ องนัน
้ จะเป็ นคดีท่ีมีวิธี
พิจารณาสามัญหรือคดีท่ีมีวิธีพิจารณาวิสามัญก็ตาม เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็ นอย่าง
อ่ ืน …….กระบวนพิจารณาคดีทางแพ่งท่ีจะกล่าวต่อไปนี จ้ะกล่าวถึงคดีท่ีมีข้อพิพาทซ่ ึงเป็ น
คดีท่ีมีวิธีพิจารณาสามัญเท่านัน ้
2. การเสนอข้อหานัน ้ ให้โจทก์ทำาเป็ น “คำาฟ้ อง” โดยทำาเป็ นหนังสือย่ ืนต่อศาล ซ่ ึง ปวพ.
ม.172 กำาหนดไว้วา่ คำาฟ้ องนัน ้ ต้องชัดแจ้งและครบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ กล่าวคือ
(1) สภาพแห่งข้อหา
(2) ข้ออ้างท่อ ี าศัยเป็ นหลักแห่งข้อหา
(3) คำาขอบังคับ
3. กรณีท่ีคำาฟ้ องตาม ปวพ. ม.172 ไม่ชัดแจ้ง กล่าวคือ เป็ นคำาฟ้ องท่ีอ่านแล้วจำาเลยไม่
สามารถท่ีจะเข้าใจข้อหา ถึงขนาดท่ีไม่อาจต่อสู้คดีได้ กฎหมายถือว่าเป็ น “คำาฟ้ องเคลือบ
คลุม” ……..คำาฟ้ องเคลือบคลุมนัน ้ มีแนวทางแก้ไขได้ 2 กรณี คือ
(1) ให้ศาลสอบข้อเท็จจริงในวันชีส ้ องสถาน หรือ
(2) ให้โจทก์แก้ไขเพ่ิมเติมคำาฟ้ องโดยให้โอกาสจำาเลยในการโต้แย้ง
4. คำาฟ้ องท่ีถูกต้องนัน ้ นอกจากจะต้องชัดแจ้งตาม ปวพ. ม.172 แล้ว ยังต้อง “ทำาตาม
แบบ” อีกด้วย รูปแบบของคำาฟ้ องต้องปรากฏข้อความแน่ชัดถึงตัวบุคคลและมีรายการตามท่ี
ระบุไว้ใน ปวพ. ม.67
5. เม่ อ ื คำาฟ้ องนัน
้ ถูกต้องชัดแจ้งและทำาตามแบบท่ีกฎหมายกำาหนดแล้ว ต้องย่ ืนต่อศาลท่ีมี
เขตอำานาจตามท่ีได้กล่าวมาแล้ว โดย ปวพ. ม.69 กำาหนดให้โจทก์ต้องย่ ืนต่อพนักงานเจ้า
หน้าท่ีศาลในเขตอำานาจศาลนัน ้ ซ่งึ พนักงานเจ้าหน้าท่ีศาลจะเป็ นผู้เสนอคำาฟ้ องนัน ้ ต่อศาลอีก
ต่อหน่ ึง
6. เม่ อื ศาลได้รับคำาฟ้ องดังกล่าวแล้ว ปวพ. ม.18 กำาหนดให้ศาลต้องทำาการ “ตรวจคำาคู่
ความ” ซ่ ึงในกรณีนีค ้ ือ คำาฟ้ องของโจทก์ ……..เม่ อ ื ศาลได้ใช้ดุลพินิจแล้วจะมีคำาสัง่ได้ 3
กรณี คือ
(1) มีคำาสัง่ “ให้คืน” คำาฟ้ องนัน ้ ไปให้ทำามาใหม่ หรือแก้ไขเพ่ิมเติม หรือชำาระหรือวางค่า
ธรรมเนียมศาลให้ถูกต้องครบถ้วนภายในกำาหนดเวลาท่ีศาลเห็นสมควร …..ถ้าศาลเห็นว่า
คำาฟ้ องนัน ้ อ่านไม่ออกหรืออ่านไม่เข้าใจ หรือเขียนฟ่ ุมเฟื อยเกินไป หรือไม่มีรายการ ไม่มี
ลายมือช่ ือ ไม่แนบเอกสารต่างๆ ตามท่ีกฎหมายต้องการ หรือมิได้ชำาระค่าธรรมเนียมศาลโดย
ถูกต้องครบถ้วน
(2) มีคำาสัง่ “ไม่รับ” ถ้าโจทก์มิได้ปฏิบัติตามข้อกำาหนดดังกล่าวของศาลภายในระยะเวลาท่ี
ศาลเห็นสมควร
(3) มีคำาสัง่ “รับ” คำาฟ้ องนัน ้ หากไม่มีขอ ้ ขัดข้องดังกล่าวข้างต้น
** ข้อสังเกต 1
ก. ถ้าศาลมีคำาสัง่ “รับ” คำาฟ้ องแล้ว ให้ดำาเนินการต่อไปตาม ปวพ. ม.173 ว.1 ซ่ ึงจะได้
กล่าวต่อไป ทัง้นีจ้ะย่ ืนอุทธรณ์และฎีกาทันทีไม่ได้ เพราะถือว่า เป็ นคำาสัง่ระหว่างพิจารณาแล้ว
…..การอุทธรณ์และฎีกาต้องเป็ นไปตาม ปวพ. ม.226
ข ถ้าศาลมีคำาสัง่ “ให้คืน” หรือ “ไม่รับ” คำาฟ้ อง สามารถย่ ืนอุทธรณ์และฎีกาได้ทันที เพราะ
ถือว่า ยังไม่เป็ นคำาสัง่ระหว่างพิจารณา ….กรณีในการย่ ืนอุทธรณ์และฎีกาให้เป็ นไปตาม
ปวพ. ม.227, 228 และ 247
ค. การย่ ืนคำาฟ้ องนัน ้ คู่ความตาม ปวพ. ม.149 มีหน้าท่ีต้องชำาระค่าธรรมเนียมศาล ……
เม่ ือใดท่ีศาลให้คืนหรือไม่รับคำาฟ้ อง นอกจากมีคำาสัง่ดังกล่าวแล้ว ศาลยังต้องมีคำาสัง่ให้คืนค่า
ธรรมเนียมศาลด้วย โดยไม่จำาต้องให้คู่ความร้องขออีก
7. กรณีท่ีศาลรับคำาฟ้ อง ศาลจะ “ออกหมาย” ส่งสำาเนาคำาฟ้ องนัน ้ ให้แก่จำาเลยเพ่ ือแก้คดี …
…..หน้าท่ีประการสำาคัญของโจทก์คือ ภายใน 7 วัน นับแต่วันย่ ืนคำาฟ้ อง โจทก์จะต้องร้องขอ
ต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีเพ่ ือให้ “ส่งหมายเรียกและคำาฟ้ อง” นัน ้ ตาม ปวพ. ม.173 ว.1 ……
…หากโจทก์เพิกเฉยเสีย จะเข้าข่ายทิง้ฟ้ อง ตาม ปวพ. ม.174 (1)
8. การส่งหมายเรียกและคำาฟ้ องให้แก่จำาเลยนัน ้ มีวิธีปฏิบัติซ่ึงปรากฏอยู่ใน ปวพ. ม.70 -
83
[ *** ดูรายละเอียดวิธีการส่งหมาย (วิ 1) จาก “เอกสารหมายเลข 2” *** ]
9. เม่ อ ื ได้ส่งหมายเรียกและคำาฟ้ องให้จำาเลยแล้ว หน้าท่ีสำาคัญของจำาเลยคือ ต้องทำา “คำา
ให้การ” เป็ นหนังสือย่ ืนต่อศาลภายใน 15 วัน นับแต่วันท่ีจำาเลยได้รับหมายฯ ตาม ปวพ.
ม.177 ว.1 ……ทัง้นี ค ้ ำาให้การนัน ้ จะต้องชัดแจ้งและครบด้วยองค์ประกอบ3 ประการ ตาม
ปวพ. ม.177 ว.2 กล่าวคือ
(1) ต้องชัดแจ้งว่า จำาเลยยอมรับหรือปฏิเสธ ข้ออ้างของโจทก์ …..ถ้าจำาเลยไม่ปฏิเสธ ทาง
แพ่งถือว่าจำาเลยยอมรับ
(2) ต้องชัดแจ้งว่า ยอมรับหรือปฏิเสธข้ออ้างของโจทก์ทัง้หมดหรือแต่บางส่วน
(3) ต้องมีเหตุแห่งการยอมรับหรือปฏิเสธเช่นนัน ้
10. การย่ ืนคำาให้การไม่ได้ภายในกำาหนดเวลาหรือไม่ได้ย่ืนคำาให้การนัน ้ ย่อมส่งผลต่อจำาเลย
ดังนี้
(1) ถ้าจำาเลยไม่สามารถย่ ืนคำาให้การต่อศาลได้ภายในกำาหนดเวลาดังกล่าว ปวพ. ม.23 เปิ ด
โอกาสให้จำาเลยมีสิทธิย่ืนคำาขอโดยทำาเป็ นคำาร้องขอขยายระยะเวลาได้ แต่จะต้องมีพฤติกรรม
พิเศษและต้องย่ ืนก่อนสิน ้ ระยะ เวลานัน ้
(2) หากพ้นกำาหนดแล้วไม่ได้ย่ืนคำาให้การโดยจงใจและไม่มีเหตุผลอันสมควร ถือว่าจำาเลย “
ขาดนัดย่ ืนคำาให้การ” ตาม ปวพ. ม.197 …….ศาลอาจมีคำาสัง่อย่างหน่งึ อย่างใดใน 2 กรณี
คือ
- มีคำาพิพากษาหรือคำาสัง่ให้โจทก์เป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยขาดนัด ตาม ปวพ. ม.198 ว.1 - มีคำา
สัง่จำาหน่ายคดีเสียจากสารบบความ ตาม ปวพ. ม.198 ว.2
[ *** ดูรายละเอียดการขาดนัดย่ ืนคำาให้การ (วิ 2) จาก “เอกสารหมายเลข 3” *** ]
11. การดำาเนินคดีทางแพ่งนัน ้ กฎหมายกำาหนดให้คู่ความต้องเสีย “ค่าธรรมเนียมศาล”
ต่างๆ นับ ตัง้แต่มีการย่ ืนคำาฟ้ อง ฟ้ องอุทธรณ์หรือฎีกา ซ่งึ ปวพ. ม.149 ระบุไว้วา่ ใคร
มีหน้าท่ีต้องชำาระค่าธรรมเนียมศาล ……นอกจากนี ป ้ วพ. ม.167 ยังกำาหนดให้เป็ นหน้าท่ี
ของศาลต้องมีคำาสัง่เร่ ืองค่าฤชาธรรมเนียมไว้เสมอ
12. ประเด็นท่ีน่าสนใจคือ ถ้าคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ ึงเป็ นคนยากจนไม่สามารถเสียค่า
ธรรมเนียมศาลได้ จะดำาเนินคดีทางแพ่งได้อย่างไร ….ในทางปฏิบัติคู่ความนัน ้ สามารถ “ขอ
ดำาเนินคดีอย่างคนอนาถา” โดยย่ ืนเป็ นคำาร้องต่อศาลชัน ้ ต้น พร้อมกับคำาฟ้ อง คำาฟ้ องอุทธรณ์
คำาฟ้ องฎีกา หรือคำาให้การ แล้วแต่กรณี ตาม
ปวพ. ม.155 – 156
[ *** ดูรายละเอียดค่าธรรมเนียมศาลและคดีอนาถา (วิ 1) จาก “เอกสารหมายเลข 4” ***
]

** ข้อสังเกต 2
เร่ิมตัง้แต่การย่ ืนคำาฟ้ องต่อศาล ตาม ปวพ. ม.67 จนถึงจำาเลยย่ ืนคำาให้การ ตาม ปวพ.
ม.177 ว.1 มีความเป็ นไปได้ท่ีจะเกิดเหตุการณ์อย่างใดอย่างหน่ ึง ดังต่อไปนี ค ้ ือ
ก. เหตุอันเกิดจากฝ่ ายโจทก์ ได้แก่
(1) การฟ้ องโดยผิดหลง ตาม ปวพ. ม.27 ……….วิ 1
(2) การขอโอนคดี ตาม ปวพ. ม.28 ……….วิ 1
(3) การละเมิดอำานาจศาล ตาม ปวพ. ม.31 – 33 ……….วิ 1
(4) การรับมรดกความ ตาม ปวพ. ม.42 ……….วิ 1
(5) การประนีประนอมยอมความ ตาม ปวพ. ม.138 ……….วิ 1
(6) การดำาเนินกระบวนพิจารณาซ้ำา ตาม ปวพ. ม.144 ……….วิ 1
(7) การฟ้ องซ้ำา ตาม ปวพ. ม.148 ……….วิ 1
การฟ้ องซ้อน ตาม ปวพ. ม.173 ว.2(1) ……….วิ 2
(9) การทิง้ฟ้ อง ตาม ปวพ. ม.174 ……….วิ 2
(10) การถอนฟ้ อง ตาม ปวพ. ม.175 ………วิ 2
(11) การทำาคำาให้การแก้ฟ้องแย้ง ตาม ปวพ. ม.178 ……….วิ 2
(12) การแก้ไขข้อหา ข้อต่อสู้ ข้ออ้าง หรือข้อเถียง ตาม ปวพ. ม.179 ……….วิ 2
(13) การแก้ไขคำาฟ้ อง ตาม ปวพ. ม.180 ……….วิ 2
ข. เหตุอันเกิดจากฝ่ ายจำาเลย ได้แก่
(1) การขอโอนคดี ตาม ปวพ. ม.28 ……….วิ 1
(2) การละเมิดอำานาจศาล ตาม ปวพ. ม.31 – 33 ……….วิ 1
(3) การรับมรดกความ ตาม ปวพ. ม.42 ……….วิ 1
(4 ) การนำาเงินมาวางศาล ตาม ปวพ. ม.135, 136 ……….วิ 1
(5) การประนีประนอมยอมความ ตาม ปวพ. ม.138 ……….วิ 1
(6) การฟ้ องแย้ง ตาม ปวพ. ม.177 ว.3 ……….วิ 2
(7) การแก้ไขข้อหา ข้อต่อสู้ ข้ออ้าง หรือข้อเถียง ตาม ปวพ. ม.179 ……….วิ 2
การแก้ไขคำาให้การ ตาม ปวพ. ม.180 ……….วิ 2
ค. เหตุอันเกิดจากบุคคลอ่ ืน ได้แก่
(1) การร้องสอด ตาม ปวพ. ม.57 ……….วิ 1
(2) คู่ความร่วม ตาม ปวพ. ม.59 ……….วิ 1
ข้อสอบอัตนัย วิ 2 มักจะออกเร่ ืองเก่ียวกับฟ้ องซ้อน ทิง้ฟ้ อง ถอนฟ้ อง หรือฟ้ องแย้ง
[ *** ดูรายละเอียดเน้ือหาส่วนท่ีเป็ น วิ 1 และ วิ 2 จาก “เอกสารหมายเลข 5 และ 6” ตาม
ลำาดับ *** ]
การชีส
้ องสถานสำาคัญและจำาเป็ นแค่ไหน ?
1. การชีส ้ องสถานมักจะทำาเฉพาะคดีท่ีมีข้อยุง่ ยาก ซ่ ึงข้อยุ่งยากนัน
้ เกิดจากข้อกล่าวหาของ
โจทก์มีหลายประเด็น ศาลจึงจำาเป็ นต้องนัดคู่ความทัง้สองฝ่ ายมาศาลเพ่ ือทำาการสอบถาม ตาม
ปวพ. ม.182 โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้
(1) เพ่ ือให้ได้ความชัดในประเด็นข้อพิพาท
(2) เพ่ ือกำาหนดประเด็นข้อพิพาทซ่ ึงเกิดจากจำาเลยปฏิเสธข้อกล่าวหาของโจทก์
(3) เพ่ ือจะกำาหนดว่าโจทก์หรือจำาเลยท่ีจะต้องนำาพยานหลักฐานเข้าสืบก่อนหรือหลัง
2. อย่างไรก็ตาม ปวพ. ม.182 ยังกำาหนดว่ามีบางกรณีท่ีไม่จำาเป็ นต้องมีการชีส ้ องสถาน เช่น
(1) จำาเลยขาดนัดย่ ืนคำาให้การ
(2) คำาให้การของจำาเลยเป็ นการยอมรับโดยชัดแจ้ง
(3) คำาให้การของจำาเลยเป็ นการปฏิเสธโดยไม่มีเหตุแห่งการปฏิเสธ
(4) ศาลวินิจฉัยชีข้าดคดี (ปั ญหาข้อกฎหมาย) ให้เสร็จไปทัง้เร่ ืองโดยไม่ต้องสืบพยาน
(5) คดีมโนสาเร่ ตาม ปวพ. ม.189 หรือคดีไม่มีข้อยุง่ ยาก ตาม ปวพ. ม.196
(6) คดีท่ีศาลเห็นว่ามีประเด็นข้อพิพาทไม่ยงุ่ ยากและไม่จำาเป็ นต้องชีส ้ องสถาน

3. ในวันชีส ้ องสถานนัน ้ ปวพ. ม.183 กำาหนดวัตถุประสงค์และวิธีปฏิบัติไว้ดงั นี้


(1) วัตถุประสงค์สำาคัญในวันชีส ้ องสถานนัน ้ มี 2 ประการ คือ การกำาหนดประเด็นข้อพิพาท
และการกำาหนดหน้าท่ีการนำาสืบก่อนหลัง
(2) ในวันชีส ้ องสถาน คู่ความทัง้สองฝ่ ายต้องมาศาล ซ่งึ ศาลจะดำาเนินการดังต่อไปนี้
- ศาลจะตรวจคำาคู่ความและคำาแถลงของคู่ความ เพ่ ือนำาข้ออ้างก็ดี ข้อเถียงก็ดี
มาเปรียบเทียบกันดู
- จากนัน ้ ศาลจะทำาการกำาหนดประเด็นข้อพิพาท ซ่งึ มีทัง้ปั ญหาข้อกฎหมายและ
ปั ญหาข้อเท็จจริง
- ศาลจะนำาประเด็นข้อพิพาทนัน ้ มาสอบถามคู่ความทัง้สองฝ่ ายถึงการยอมรับหรือ
ปฏิเสธ ……ถ้าคู่ความฝ่ ายใดไม่ตอบคำาถาม หรือปฏิเสธข้อเท็จจริงโดยไม่มีเหตุ
ผลอันสมควร ถือว่ายอมรับข้อเท็จจริงนัน ้ …….เว้นแต่จะไม่อยู่ในวิสัยท่ีจะตอบ
หรือแสดงเหตุผลแห่งการปฏิเสธได้ในขณะนัน ้
- และในท่ีสุดศาลจะทำาการกำาหนดหน้าท่ีการนำาสืบก่อนหลัง
(3) คู่ความฝ่ ายใดเห็นว่า การกำาหนดประเด็นข้อพิพาทหรือกำาหนดหน้าท่ีการนำาสืบก่อน
หลังของศาลไม่ถูกต้อง ปวพ. ม.183 ว.3 ให้สิทธิคัดค้านซ่ ึงสามารถกระทำาได้ 2 วิธี คือ
- โดยการแถลงด้วยว่าต่อศาลในขณะนัน ้ (วันชีส
้ องสถาน)
- โดยการย่ ืนคำาร้องต่อศาลภายใน 7 วัน นับแต่วันชีส ้ องสถาน
ทัง้นี ผ
้ ลของการใช้สิทธิคัดค้านดังกล่าว
- ศาลจะต้องชีข้าดคำาคัดค้านนัน ้ ก่อนวันสืบพยาน
- คำาชีข้าดของศาลเช่นนี ถ ……้ ื อเป็ นคำาสัง่ระหว่างพิจารณาคู่ความฝ่
คำาชีข้าดดังกล่าว สามารถย่ ืนอุทธรณ์ได้ภายใน 1 เดือน นับแต่วันท่ีศาลได้มี
คำาสัง่ชีข้าด ตาม ปวพ. ม.226
(4) กรณีคู่ความทุกฝ่ ายหรือฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ ึงไม่มาศาล ปวพ. ม.183 ทวิ ว.1 บังคับไว้ว่า ให้
ศาลทำาการชีส ้ องสถานไปได้เลย โดยให้ถือว่าคู่ความท่ีไม่มาศาลได้ทราบกระบวนการพิจารณา
ในวันนัน ้ แล้ว ……..ผลคือ ปวพ. ม.183 ทวิ ว.2 กำาหนดว่า
- คู่ความท่ีไม่มาศาลนัน ้ ไม่มีสิทธิคัดค้านว่าประเด็นข้อพิพาทและหน้าท่ีการนำาสืบ
ก่อนหลังท่ีศาลกำาหนดไว้นัน ้ ไม่ถูกต้อง
- ยกเว้น กรณีท่ีไม่มาศาลได้ในวันนัน ้ เพราะเหตุจำาเป็ นอันไม่อาจก้าวล่วงได้ หรือ
เป็ นการคัดค้านในเร่ ืองเก่ียวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน ……ทางแก้ไข
โดยให้ย่ืนคำาร้องต่อศาลภายใน 7 วัน นับแต่วันท่ีชีส ้ องสถาน
[ *** ดูรายละเอียดการชีส ้ องสถานเพ่ิมเติม (วิ 2) จาก “เอกสารหมายเลข 7” *** ]
4. เม่ อื ศาลได้ทำากาชีส ้ องสถานเรียบร้อยแล้ว หน้าท่ีต่อไปของศาลคือ “การกำาหนดวันสืบ
พยาน” ซ่ ึง ปวพ. ม.184 กำาหนดหลักเกณฑ์ไว้วา่ ศาลต้องกำาหนดวันสืบพยานซ่งึ มีระยะ
เวลาไม่น้อยกว่า 10 วัน นับแต่วันชีส ้ องสถาน …….แต่ถ้าวันสืบพยาน คู่ความฝ่ ายใดฝ่ าย
หน่ ึงไม่มาศาล ถือว่าคู่ความฝ่ ายนัน
้ ขาดนัดพิจารณา ตาม ปวพ. ม.200 ซ่ ึงจะส่งผลต่อเน่ ือง
หลายประการ
[ *** ดูรายละเอียดการขาดนัดพิจารณา (วิ 2) จาก “เอกสารหมายเลข 3” *** ]

ภาระการพิสูจน์และการนำาสืบพยานหลักฐานเป็ นหน้าท่ีของใคร ?
1. ในวันชีส ้ องสถานซ่ ึงศาลจะต้องกำาหนดประเด็นข้อพิพาทนัน ้ ศาลจะต้องกำาหนดลักษณะ
ของปั ญหาข้อพิพาทในแต่ละประเด็นเสียก่อน ซ่ ึงมี 2 ลักษณะ คือ
(1) ปั ญหาข้อเท็จจริง - คือพฤติการณ์ของคดีท่ีเกิดขึ้น ซ่ ึงคู่ความต้องนำาพยานมาสืบให้
ศาลเช่ ือได้ตามท่ีอา้ งหรือต่อสู้
(2) ปั ญหาข้อกฎหมาย - คือปั ญหาท่ีศาลวินิจฉัยได้เอง คู่ความไม่ตอ ้ งนำาพยานหลักฐาน
มาสืบ
2. ปั ญหาข้อเท็จจริง เป็ นปั ญหาท่ีคู่ความมี “หน้าท่ีนำาสืบ” ตาม ปวพ. ม.84 หรือภาษาท่ี
วงการวิชา ชีพกฎหมายเรียกว่า “ภาระการพิสูจน์” นัน ่ เอง …….ซ่ ึงเข้าใจกันง่ายๆ คือ “ผู้ใด
กล่าวอ้าง ผู้นัน้ นำาสืบ”
3. ภาระการพิสูจน์เช่นว่านัน ้ คือ การนำาพยานหลักฐานเข้าสืบ ……โดยพยานหลักฐานท่ีจะ
นำาเข้าสืบนีแ้ บ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ
(1) พยานวัตถุ หรือวัตถุพยาน ……ถือว่าเป็ นพยานท่ีน่าเช่ ือถือท่ีสุดท่ีศาลจะรับฟั ง
(2) พยานเอกสาร
(3) พยานบุคคล
4. คู่ความฝ่ ายใดต้องการจะอ้างพยานเอกสารหรือพยานบุคคล ต้องย่ ืน “บัญชีระบุพยาน”
ต่อศาลก่อนวันสืบพยานไม่น้อยกว่า 7 วัน ตาม ปวพ. ม.88 ว.1 และต้องส่งสำาเนานัน ้ ให้
แก่คู่ความอีกฝ่ ายหน่ ึงก่อนวันสืบพยานไม่น้อยกว่า 7 วัน ตาม ปวพ. ม.90 ว.1 ………..
หากคู่ความฝ่ ายนัน ้ จะย่ ืนบัญชีระบุพยานเพ่ิมเติม สามารถทำาได้โดยการย่ ืนคำาแถลงต่อศาล
พร้อมบัญชีระบุพยานเพ่ิมเติมภายใน 15 วัน นับแต่วันสืบพยาน ตาม ปวพ. ม.88 ว.2
5. การรับฟั งพยานเอกสารในศาล ให้เป็ นไปตาม ปวพ. ม.93 -94 ……ส่วนการรับฟั ง
พยานบุคคลนัน ้ ให้เป็ นไปตาม ปวพ. ม.95 – 99 เช่น
(1) พยานบุคคลต้องเข้าใจและตอบคำาถามได้ ตาม ปวพ. ม.95 (1)
(2) พยานบุคคลต้องเป็ นผู้ท่ีได้เห็น ได้ยิน หรือทราบข้อความเก่ียวในเร่ ืองท่ีจะให้การเป็ น
พยานนัน ้ มาด้วยตนเองโดยตรง ตาม ปวพ. ม.95 (2)
(3) พยานบุคคลท่ีเป็ นคนหูหนวก หรือเป็ นใบ้ หรือทัง้หูหนวกและเป็ นใบ้ อาจถูกถามหรือให้
คำาตอบโดยวิธีเขียนหนังสือหรือวิธอ ี ่ ืนใดท่ีสมควรได้ ตาม ปวพ. ม.96
(4) คู่ความฝ่ ายหน่ ึงจะอ้างคู่ความอีกฝ่ ายหน่ ึงเป็ นพยานของตนก็ได้ หรือจะอ้างตนเองเป็ น
พยานก็ได้ ตาม ปวพ. ม.97
(5) คู่ความฝ่ ายใดจะอ้างบุคคลผู้มีความรู้เช่ียวชาญในศิลปะ วิทยาศาสตร์ การฝี มือ การค้า
หรือการงานท่ีทำาหรือกฎหมายระหว่างประเทศก็ได้ ตาม ปวพ. ม.98
(6) ถ้าศาลเห็นสมควรหรือเม่ อ ื มีคำาขอของคู่ความฝ่ ายใด ศาลมีอำานาจออกคำาสัง่กำาหนด การ
ตรวจหรือการแต่งตัง้ผู้เช่ียวชาญก็ได้ หรือคู่ความมีสิทธิเรียกบุคคลผู้มีความรู้เช่ียวชาญมาเป็ น
พยานฝ่ ายตนก็ได้ ตาม ปวพ. ม.99
[ *** ดูรายละเอียดภาระการพิสูจน์และการนำาสืบพยานเอกสาร (วิ 1) จาก “เอกสาร
หมายเลข 8” *** ]

พยานจำาเป็ นต้องมาศาลในวันสืบพยานหรือไม่ อย่างไร ?


1. คู่ความฝ่ ายใดไม่สามารถนำาพยานของตนมาศาลได้เอง คู่ความฝ่ ายนัน ้ อาจร้องขอต่อศาล
ให้ออกหมายเรียกพยานมาศาลได้ ตาม ปวพ. ม.106 โดยมีเง่ ือนไขว่า
(1) ต้องร้องขอต่อศาลก่อนวันสืบพยาน
(2) ต้องให้พยานรู้ล่วงหน้าอย่างน้อย 3 วัน
2. ถ้ามีความจำาเป็ นต้องไปสืบพยานนอกศาล สามารถทำาได้ ตาม ปวพ. ม.107
3. พยานท่ีได้รับหมายเรียกโดยชอบ มีหน้าท่ีต้องไปศาลตามวัน เวลาและสถานท่ีในหมาย
เรียกนัน
้ ตาม ปวพ. ม.108 ว.1 ……เว้นแต่บุคคลดังต่อไปนีท ้ ่ีไม่ต้องไปศาล (ปวพ.
ม.108 ว.2)
(1) สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระราชินี พระยุพราช หรือผู้สำาเร็จราชการแผ่นดิน
(2) พระภิกษุและสามเณรในพุทธศาสนา
(3) บุคคลใดท่ีไม่สามารถไปศาลได้เพราะเจ็บป่ วย โดยแจ้งเหตุนัน ้ ให้ศาลทราบซ่ ึงศาลเช่ ือว่า
ป่ วยจริง
4. เม่ อ
ื ใดท่ีศาลเห็นว่า คำาเบิกความของพยานท่ีไม่มาศาลเป็ นข้อสำาคัญในการวินิจฉัยชีข้าดคดี
ศาลจะมีแนวพิจารณาได้ 2 กรณี คือ
(1) ถ้าพยานท่ีไม่ไปศาลเพราะเจ็บป่ วยหรือมีขอ ้ แก้ตัวอ่ ืนอันรับฟั งได้ ……ศาลจะมีคำาสัง่ให้
เล่ ือนการนัง่พิจารณาคดี ตาม ปวพ. ม.111 (1)
(2) ถ้าพยานได้รับหมายเรียกแล้วจงใจไม่ไปศาล หรือได้รับคำาสัง่ศาลให้รอคอยอยู่แต่จงใจ
หลบหนีเสีย ……ศาลจะมีคำาสัง่ให้เล่ ือนการนัง่พิจารณาคดี และออกหมายจับและเอาตัว
พยานกักขังไว้จนกว่าพยานจะได้เบิกความก็ได้ ตาม ปวพ. ม.111 (2)
5. ก่อนเบิกความ พยานทุกคนต้องสาบานตนตามลัทธิศาสนา หรือจารีตประเพณีแห่งชาติ
ของตน ตาม ปวพ. ม.112 ยกเว้นบุคคลต่อไปนี้
(1) บุคคลท่ีมีอายุต่ำากว่า 14 ปี หรือหย่อนความรู้สึกผิดและชอบ
(2) พระภิกษุและสามเณรในพุทธศาสนา
(3) บุคคลซ่งึ คู่ความทัง้สองฝ่ ายตกลงกันว่าไม่ต้องให้สาบาน
6. ห้ามเบิกความพยานต่อหน้าพยานคนอ่ ืนท่ีจะต้องขึ้นเบิกความภายหลัง ตาม ปวพ.
ม.114
7. พระภิกษุสามเณรในพุทธศาสนา แม้มาเป็ นพยาน จะไม่ยอมเบิกความหรือตอบคำาถาม
ใดๆ ก็ได้ ตาม ปวพ. ม.115
[ *** ดูรายละเอียดการมาศาลของพยาน (วิ 1) จาก “เอกสารหมายเลข 9” *** ]

การซักถามพยานในศาลมีแนวปฏิบัติอย่างไร ?
1. เม่ อื พยานได้แสดงตนและสาบานตนเรียบร้อยแล้ว จึงเร่ิมต้นกระบวนการซักถามพยาน
ซ่ ึงตาม ปวพ. ม.117 กำาหนดไว้ 3 ขัน ้ ตอน โดยลำาดับดังนีค ้ ือ
(1) การซักถาม ……โดยคู่ความฝ่ ายท่ีอ้างพยานจะเร่ิมด้วยการซักถามพยาน ทัง้นี ห ้ ้ามมิ
ให้คู่ความฝ่ ายนัน
้ ใช้คำาถามนำา เว้นแต่คู่ความอีกฝ่ ายหน่งึ จะยินยอม ตาม ปวพ. ม.118 ว.1
(2) การถามค้าน ……โดยคู่ความอีกฝ่ ายหน่ ึงจะทำาหน้าท่ีถามค้าน ภายหลังคู่ความฝ่ ายท่ีอ้าง
พยานได้ซักถามพยานแล้ว ซ่ ึงคู่ความอีกฝ่ ายหน่ ึงนัน ้ สามารถใช้คำาถามนำาได้ ตาม ปวพ.
ม.118 ว.2
(3) การถามติง ……โดยคู่ความฝ่ ายท่ีอ้างพยานจะทำาหน้าท่ีถามติง ภายหลังคู่ความอีกฝ่ าย
หน่ ึงได้ถามค้านพยานแล้ว กรณีนีค ้ ู่ความฝ่ ายนัน
้ จะใช้คำาถามนำาไม่ได้เช่นกัน ตาม ปวพ.
ม.118 ว.1 และอีกประการหน่ ึง การถามติงนัน ้ ห้ามมิให้คู่ความฝ่ ายนัน้ ใช้คำาถามอ่ ืน
นอกจากคำาถามท่ีเก่ียวกับคำาพยานเบิกความตอบคำาถามค้าน ตาม ปวพ. ม.118 ว.2
2. เม่ อ
ื สืบพยานเสร็จแล้ว ศาลจะอนุญาตให้มี “การแถลงการณ์ปิดคดี” ซ่งึ ตาม ปวพ.
ม.186 ว.1 ได้ให้โอกาสแก่โจทก์และจำาเลย ตามลำาดับ ดังนี้
(1) โจทก์แถลงการณ์ด้วยวาจาก่อนเป็ นลำาดับแรก
(2) ต่อด้วยจำาเลยแถลงการณ์ด้วยวาจาทบทวน ข้อเถียง แสดงผลแห่งพยานหลักฐานใน
ประเด็นข้อพิพาท
(3) สุดท้ายโจทก์แถลงตอบจำาเลยได้อีกครัง้หน่ ึง

กระบวนพิจารณาชัน ้ อุทธรณ์
1. เม่ อ
ื ใดท่ีศาลชัน
้ ต้นได้มีคำาพิพากษาหรือคำาสัง่ชีข้าดตัดสินคดีแล้วปรากฏว่า คู่ความท่ีไม่
เห็นด้วยกับคำาพิพากษาหรือคำาสัง่ดังกล่าว สามารถย่ ืนอุทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์ได้ …..เว้นแต่
คำาพิพากษาหรือคำาสัง่นัน ้ จะเป็ นท่ีสุด ตาม ปวพ. ม.223
2. ผู้ท่ีถูกกล่าวหาในชัน ้ อุทธรณ์ไม่ใช่โจทก์หรือจำาเลย แต่เป็ นศาลชัน้ ต้นนัน
่ เอง
3. การอุทธรณ์คำาพิพากษาหรือคำาสัง่ของศาลชัน ้ ต้น มีหลักการเบ้อ
ื งต้น ดังนี้
- ปั ญหาข้อกฎหมาย ……….จะอุทธรณ์ได้แทบทุกกรณี
- ปั ญหาข้อเท็จจริง …………ต้องห้ามอุทธรณ์ในบางกรณี
4. ปั ญหาข้อกฎหมายนัน ้ นอกจากจะอุทธรณ์ได้แทบทุกกรณี ตาม ปวพ. ม.223 แล้ว ยัง
สามารถอุทธรณ์โดยตรงต่อศาลฎีกาได้ด้วย ซ่ ึง ปวพ. ม.223 ทวิ ได้วางแนวปฏิบัติไว้ดังนี้
(1) การย่ ืนอุทธรณ์ต่อศาลฎีกา ผู้อุทธรณ์ต้องทำาเป็ นคำาร้องย่ ืนพร้อมกับคำาฟ้ องอุทธรณ์
(2) คู่ความฝ่ ายตรงข้ามต้องไม่ได้ย่ืนอุทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์ ตาม ปวพ. ม.233 ไว้
(3) คู่ความฝ่ ายตรงข้ามไม่ได้คัดค้านคำาร้องดังกล่าว …..ซ่งึ ถ้าคัดค้านก็จะต้องทำากันในระยะ
เวลาย่ ืนคำาแก้อุทธรณ์ คือภายใน 15 วัน นับแต่วันท่ีได้รับสำาเนาอุทธรณ์
(4) ศาลชัน ้ ต้นเห็นว่า เป็ นการอุทธรณ์เฉพาะปั ญหาข้อกฎหมายแล้วมีคำาสัง่อนุญาตให้ย่ืน
อุทธรณ์ต่อศาลฎีกาได้โดยตรง
5. ส่วนประเด็นปั ญหาข้อเท็จจริงนัน ้ ต้องแยกลักษณะคดีออกเป็ น 2 กรณี คือ
(1) คดีท่ีมีทุนทรัพย์ ซ่งึ ราคาทรัพย์สินหรือจำานวนทุนทรัพย์ท่ีพิพาทไม่เกิน 50,000 บาท
ปวพ. ม.224 ว.1 ห้ามมิให้คู่ความอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง …….อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะเป็ นคดี
ท่ีมีราคาทรัพย์สินหรือจำานวนทุนทรัพย์ท่ีพิพาทไม่เกิน 50,000 บาท ก็สามารถอุทธรณ์ใน
ปั ญหาข้อเท็จจริงได้ ถ้าหากเป็ นไปตามเง่ ือนไขอย่างหน่ ึงอย่างใด ดังนี้
- ผู้พิพากษาท่ีนัง่พิจารณาคดีนัน ้ ในศาลชัน้ ต้นได้ทำาความเห็นแย้งไว้
- ผู้พิพากษาท่ีนัง่พิจารณาคดีนัน ้ ในศาลชัน้ ต้นได้รับรองว่ามีเหตุอันควรอุทธรณ์ได้
- ถ้าไม่มีความเห็นแย้งหรือคำารับรองเช่นว่านัน ้ ต้องได้รับอนุญาตเป็ นหนังสือจาก
อธิบดีผู้พิพากษาศาลชัน ้ ต้นหรืออธิบดีผู้พิพากษาศาลภาคให้อุทธรณ์ได้
(2) คดีท่ีไม่มีทุนทรัพย์ เช่น คดีฟ้องหย่า ปวพ. ม.224 ว.2 อนุญาตให้อุทธรณ์ในปั ญหาข้อ
เท็จจริงได้ เว้นแต่คดีฟ้องขับไล่บุคคลให้ออกจากอสังหาริมทรัพย์ซ่ึงมีค่าเช่าหรืออาจให้เช่าได้
ในขณะย่ ืนคำาฟ้ องไม่เกินเดือนละ 4,000 บาท
6. ขณะท่ีคดียังอยู่ในระหว่างพิจารณาของศาลชัน ้ ต้นนัน
้ ก่อนท่ีศาลชัน
้ ต้นจะมีคำาพิพากษา
หรือคำาสัง่ชีข้าดตัดสินคดี ศาลอาจจะมีคำาสัง่อย่างใดอย่างหน่ ึงได้เสมอ คำาสัง่เช่นนีม ้ ีอยู่ 2
ประเภท คือ
(1) คำาสัง่ท่ีไม่ทำาให้คดีเสร็จไปจากศาล เรียกว่า คำาสัง่ระหว่างพิจารณา
(2) คำาสัง่ท่ีทำาให้คดีเสร็จไปจากศาล
7. คำาสัง่ดังกล่าวทัง้ 2 ประเภทนี ผ ้ ู้ อุทธรณ์สามารย่ ืนอุทธรณ์ต
วิธีการแตกต่างกัน
8. คำาสัง่ระหว่างพิจารณา คือคำาสัง่ของศาลท่ีไม่ทำาให้คดีเสร็จไปจากศาล เม่ ือสัง่แล้วคดีก็ยัง
อยู่ในศาลท่ีจะต้องพิจารณาต่อไป ซ่งึ ปวพ. ม.226 ได้วางหลักปฏิบัติไว้ดงั นี้
(1) คำาสัง่ระหว่างพิจารณาสามารถอุทธรณ์ได้ แต่ห้ามอุทธรณ์ในขณะนัน ้ ได้ทันที
(2) คู่ความผู้ใดท่ีโต้แย้งคำาสัง่ศาลไว้โดยชอบ คู่ความผู้นัน ้ สามารถอุทธรณ์คำาสัง่นัน ้ ได้
(3) การอุทธรณ์ดังกล่าวจะต้องอุทธรณ์ภายใน 1 เดือน นับแต่วันท่ีศาลได้มีคำาพิพากษาหรือ
คำาสัง่ชีข้าดตัดสินคดี
9. อย่างไรก็ตาม มีขอ ้ ยกเว้นเก่ียวกับคำาสัง่ระหว่างพิจารณาอยู่ 3 เร่ ือง ซ่งึ ปวพ. ม.228
กำาหนดไว้ว่าคู่ความสามารถอุทธรณ์ได้ภายใน 1 เดือน นับแต่วันมีคำาสัง่ โดยคู่ความไม่ตอ ้ งมี
โต้แย้งคำาสัง่นัน้ ปรากฏอยู่ในสำานวน ได้แก่
(1) คำาสัง่ให้กักขัง หรือปรับไหม หรือจำาขังผู้ใด
(2) มีคำาสัง่อันเก่ียวด้วยคำาขอเพ่ ือคุ้มครองประโยชน์ของคู่ความในระหว่างการพิจารณา หรือ
มีคำาสัง่อันเก่ียวด้วยคำาขอเพ่ ือจะบังคับคดีตามคำาพิพากษา
(3) ไม่รับหรือคืนคำาคู่ความตาม ม.18 หรือวินิจฉัยชีข้าดเบ้ืองต้นตาม ม.24 ซ่ ึงมิได้ทำาให้
เสร็จไปทัง้เร่ ือง หากเสร็จไปเฉพาะแต่ประเด็นบางข้อ
อย่างไรก็ตาม แม้ว่า ปวพ. ม.228 จะให้โอกาสคู่ความอุทธรณ์คำาสัง่ระหว่างพิจารณาได้
ภายในระยะเวลาท่ีกฎหมายกำาหนด ……แต่ถ้าคู่ความไม่ได้ใช้สิทธิดังกล่าว ก็ยังมีสิทธิย่ืน
อุทธรณ์ได้อีกครัง้หน่ ึงตาม ปวพ. ม.223 เม่ อ ื ศาลได้พิพากษาคดีแล้ว
10. คำาสัง่ของศาลชัน ้ ต้นท่ีไม่รับหรือให้คืนคำาคู่ความตาม ม.18 หรือคำาสัง่วินิจฉัยชีข้าดเบ้ือง
ต้นตาม ม.24 ซ่ ึงทำาให้คดีเสร็จไปทัง้เร่ ือง ปวพ. ม.227 กำาหนดไว้วา่ มิใช่คำาสัง่ระหว่าง
พิจารณา ….ผลท่ีเกิดจากการไม่ใช่คำาสัง่ระหว่างพิจารณาคือ ให้อุทธรณ์คำาสัง่นัน ้ ได้เม่ ือศาลมี
คำาพิพากษาหรือคำาสัง่ชีข้าดตัดสินคดีแล้ว
กระบวนพิจารณาชัน ้ ฎีกา
1. คดีท่ีขึ้นสู่ศาลฎีกา มีอยู่ 2 กรณี คือ
(1) กรณีท่ีมีการอุทธรณ์ปัญหาข้อกฎหมาย ผู้อุทธรณ์ย่ืนอุทธรณ์ต่อศาลฎีกาโดยตรง ตาม
ปวพ. ม.223 ทวิ
(2) กรณีท่ีศาลอุทธรณ์ได้พิพากษาหรือมีคำาสัง่ในชัน ้ อุทธรณ์แล้วนัน ้ ให้ย่ืนฎีกาได้ภายใน
กำาหนด 1 เดือน นับแต่วันท่ีได้อ่านคำาพิพากษาหรือคำาสัง่ศาลอุทธรณ์ ตาม ปวพ. ม.247
2. คดีท่ีมีทุนทรัพย์ ซ่ ึงราคาทรัพย์สินหรือจำานวนทุนทรัพย์ท่ีพิพาทในชัน ้ ฎีกาไม่เกิน
200,000 บาท ปวพ. ม.248 ห้ามมิให้คู่ความฎีกาในข้อเท็จจริง ………..อย่างไรก็ตาม
แม้ว่าจะเป็ นคดีท่ีมีราคาทรัพย์สินหรือจำานวนทุนทรัพย์ท่ีพิพาทไม่เกิน 200,000 บาท ก็
สามารถฎีกาในปั ญหาข้อเท็จจริงได้ ถ้าหากเป็ นไปตามเง่ ือนไขอย่างหน่ ึงอย่างใด ดังนี้
(1) ผู้พิพากษาท่ีนัง่พิจารณาคดีนัน ้ ในศาลอุทธรณ์ได้ทำาความเห็นแย้งไว้
(2) ผู้พิพากษาท่ีนัง่พิจารณาคดีนัน ้ ในศาลชัน ้ ต้นก็ดี ศาลอุทธรณ์ก็ดี ได้รับรองว่ามีเหตุอัน
ควรฎีกาได้
(3) ถ้าไม่มีความเห็นแย้งหรือคำารับรองเช่นว่านัน ้ ต้องได้รับอนุญาตเป็ นหนังสือจากอธิบดีผู้
พิพากษาศาลอุทธรณ์ให้ฎีกาได้
3. คดีท่ีไม่มีทุนทรัพย์ เช่น คดีฟ้องหย่า ปวพ. ม.248 ว.2 อนุญาตให้ฎีกาในปั ญหาข้อเท็จ
จริงได้ เว้นแต่คดีฟ้องขับไล่บุคคลให้ออกจากอสังหาริมทรัพย์ซ่งึ มีค่าเช่าหรืออาจให้เช่าได้ใน
ขณะย่ ืนคำาฟ้ องไม่เกินเดือนละ 10,000 บาท
[ *** ดูรายละเอียดกระบวนพิจารณาชัน ้ อุทธรณ์ฎีกา (วิ 2) จาก “เอกสารหมายเลข 10”
*** ]
วิธีการชัว่คราวก่อนพิพากษา
1. วิธีการชัว่คราวก่อนพิพากษา หรือเรียกว่า “วิธีการคุ้มครองชัว่คราว” เป็ นการท่ีศาลให้
ความคุ้มครองโจทก์หรือจำาเลยในสิทธิหรือประโยชน์ท่ีกำาลังพิพาทฟ้ องร้องกันอยู่นัน ้ ระหว่าง
ท่ีศาลพิจารณาคดีก่อนมีคำาพิพากษา
2. การขอคุ้มครองชัว่คราว เกิดขึ้นได้ทัง้ฝ่ ายจำาเลยและฝ่ ายโจทก์ กล่าวคือ
(1) การคุ้มครองจำาเลยชัว่คราว ซ่งึ ตามปกติเม่ ือศาลพิพากษาให้จำาเลยชนะคดี ศาลมักจะสัง่
ให้โจทก์เสียค่าฤชาธรรมเนียมแทนจำาเลย แต่มีแนวโน้มว่าเม่ ือศาลมีคำาพิพากษาแล้ว จะบังคับ
เช่นว่านัน ้ กับโจทก์ไม่ได้ ปวพ. ม.253 จึงให้สิทธิแก่จำาเลยท่ีจะป้ องกันตนเองมิให้เสียหาย
ตัง้แต่เร่ิมต้นคดีในศาลชัน ้ ต้น ……อย่างไรก็ตาม ในชัน ้ อุทธรณ์ฎีกา หากจำาเลยเห็นว่าตนเอง
จะชนะคดีและโจทก์มีแนวโน้มท่ีจะไม่เสียค่าฤชาธรรมเนียมแทนจำาเลย ปวพ. ม.253 ทวิ ก็
ยังคงให้สิทธิแก่จำาเลยท่ีจะป้ องกันตนเองมิให้เสียหายด้วยเช่นกัน ……..ประเด็นท่ีจำาเลยขอ
ให้ศาลมีคำาสัง่คุ้มครองชัว่คราวประเด็นใดประเด็นหน่ ึง คือ
- ขอให้โจทก์วางเงินต่อศาลเพ่ ือการชำาระค่าฤชาธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายอ่ ืน
- ขอให้หาบุคคลมาประกันเพ่ ือการชำาระค่าฤชาธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายอ่ ืน
(2) การคุ้มครองโจทก์ชัว่คราว ซ่ ึง ปวพ. ม.254 ก็ให้สิทธิแก่โจทก์เช่นกันท่ีจะป้ องกัน
ตนเองมิให้เสียหายอันเกิดจากการกระทำาของจำาเลย โดยโจทก์มีสิทธิขอให้คุ้มครองชัว่คราวใน
4 กรณี คือ
- ขอให้ยึดหรืออายัดทรัพย์สิน
- ขอให้มีคำาสัง่ให้จำาเลยห้ามจำาเลยกระทำาการหรือกระทำาละเมิด
- ขอให้มีคำาสัง่แก่บุคคลภายนอกท่ีเก่ียวข้องห้ามกระทำาการ
- ขอให้จับกุมและกักขังจำาเลยไว้ชัว่คราว
3. นอกจากการคุ้มครองสิทธิตาม ปวพ. ม.253 และ ม.254 แล้ว ปวพ. ม.264 ยังให้สิทธิ
แก่โจทก์และจำาเลยท่ีจะขอคุ้มครองชัว่คราวในกรณีใดกรณีหน่ ึงดังต่อไปนี้
(1) ให้นำาทรัพย์สินหรือเงินท่ีพิพาทมาวางต่อศาลหรือบุคคลภายนอก
(2) ให้ตัง้ผู้จัดการหรือผู้รักษาทรัพย์สินของห้างร้านท่ีทำาการค้าท่ีพิพาท
(3) ให้จัดให้บุคคลผู้ไร้ความสามารถอยู่ในความปกครองของบุคคลภายนอก
[ *** ดูรายละเอียดวิธีการชัว่คราวก่อนพิพากษา (วิ 2) จาก “เอกสารหมายเลข 11” *** ]
การบังคับคดีตามคำาพิพากษาหรือคำาสัง่
1. เม่ อ
ื ศาลมีคำาพิพากษาหรือคำาสัง่ และมีผลให้คู่ความฝ่ ายหน่งึ ฝ่ ายใดเป็ นลูกหนีต
้ ามคำา
พิพากษา หากคู่ความฝ่ ายนัน้ ไม่ปฏิบัติตามคำาพิพากษาหรือคำาสัง่ภายในกำาหนดเวลาท่ีศาล
กำาหนดไว้ในคำาบังคับของศาล คู่ความฝ่ ายท่ีเป็ นเจ้าหนีต
้ ามคำาพิพากษามีสิทธิบังคับคดีได้
ภายใน 10 ปี นับแต่วันท่ีมีคำาพิพากษาหรือคำาสัง่นัน ้ ตาม ม.271

2. การบังคับคดีต้องดำาเนินการตามขัน ้ ตอนของกฎหมาย กล่าวคือ


(1) เม่ ือศาลมีคำาพิพากษาแล้ว ศาลจะต้องออก “คำาบังคับ” กล่าวคือ
- คำาบังคับเป็ นคำาสัง่ของศาลให้ลูกหนีต ้ ามคำาพิพากษาปฏิบัติตามท่ีศาลตัดสินให้
เขาแพ้คดี
- คำาบังคับต้องออกตามคำาพิพากษาของศาล
- คำาบังคับนัน ้ จะต้องระบุเง่ ือนไขว่า ถ้าลูกหนีไ้ม่ปฏิบัติตามท่ีศาลมีคำาบังคับ จะมี
ผลเป็ นประการใด
- บทบัญญัติท่ีเก่ียวกับคำาบังคับ ปรากฏใน ม.272 – 274
(2) เม่ ือครบกำาหนดตามคำาบังคับแล้วปรากฏว่า ลูกหนีต ้ ามคำาพิพากษายังไม่ปฏิบัติตามคำา
บังคับของศาล เจ้าหนีต ้ ามคำาพิพากษามีสิทธิร้องขอให้ศาลออก “หมายบังคับคดี” กล่าวคือ
- หมายบังคับคดีเป็ นหมายท่ีออกเพ่ ือใช้เป็ นมาตรการขัน ้ ท่ี 2 หลังจากลูกหนีไ้ม่
ปฏิบัติตามคำาบังคับแล้ว
- หมายบังคับคดีจะต้องระบุรายละเอียดอย่างไร มีกำาหนดไว้ใน ม.275
- หมายบังคับคดีเป็ นหมายศาลท่ีมีการแต่งตัง้ “เจ้าพนักงานบังคับคดี”
- บทบัญญัติท่ีเก่ียวกับหมายบังคับคดี ปรากฏใน ม.275 - 302
3. เจ้าพนักงานบังคับคดีซ่ึงเป็ นเจ้าพนักงานตามกฎหมาย มีอำานาจหน้าท่ี ดังนี้
(1) เป็ นผู้แทนของโจทก์ในการรับการชำาระหนีแ ้ ทนโจทก์
(2) เป็ นผู้แทนของโจทก์ในการยึดทรัพย์ของลูกหนีต ้ ามคำาพิพากษาแทนโจทก์
(3) เป็ นหมายค้นไปในตัวในอันท่ีจะเข้าไปในท่ีรโหฐาน
(4) มีอำานาจอายัดทรัพย์สินของบุคคลภายนอกท่ีเป็ นหนีล ้ ูกหนีต้ ามคำาพิพากษา
4. การบังคับคดีตามคำาพิพากษาหรือคำาสัง่ศาล มีได้หลายกรณี เช่น
(1) หากเป็ นหนีเ้งิน เจ้าหนีอ ้ าจขอให้เจ้าพนักงานบังคับคดียึดทรัพย์สินของลูกหนีม ้ าเพ่ ือขาย
ทอดตลาด
(2) ในกรณีฟ้องขับไล่และลูกหนีไ้ม่ยอมออกจากอสังหาริมทรัพย์ เจ้าหนีอ ้ าจขอให้จับตัวลูก
หนีม ้ าขังไว้จนกว่าจะยอมออกจากอสังหาริมทรัพย์ก็ได้
5. การยึดทรัพย์นัน ้ ต้องยึดเฉพาะทรัพย์ท่ีเป็ นของลูกหนีต ้ ามคำาพิพากษาเท่านัน ้ หากทรัพย์
ท่ียึดนัน ้ เป็ นทรัพย์ของผูอ ้ ่ ืน หรือมีผอ ู้ ่ ืนเป็ นกรรมสิทธิร์วมอยู่ดว้ ย หรือมีไม่เพียงพอ มีข้อ
พิจารณาดังนี้
(1) กรณีทรัพย์นัน ้ เป็ นของลูกหนีแ ้ ละของผูอ ้ ่ ืนร่วมกัน ผู้เป็ นเจ้าของร่วมหรือมีบุริมสิทธิหรือ
มีสิทธิอ่ืนๆ เหนือทรัพย์นัน ้ มีสิทธิย่ืนคำาร้อง “ขอกันส่วน” ตาม ม.287…..การร้องขอกัน
ส่วนนีห ้ มายความถึง การกันส่วนเงินท่ีได้จากการขายทอดตลาด ก่อนท่ีจะนำาเงินนัน ้ ไปชำาระ
หนีใ้ห้แก่เจ้าหนีต ้ ามคำาพิพากษาต่อไป
(2) กรณีทรัพย์นัน ้ เป็ นของผูอ ้ ่ ืนทัง้หมด โดยลูกหนีไ้ม่มีสิทธิในทรัพย์นัน ้ เลย เจ้าของท่ีแท้
จริงมีสิทธิย่ืนคำาร้องขอต่อศาลขอให้ปล่อยทรัพย์ท่ียึด หรือเรียกว่า “การร้องขัดทรัพย์” ตาม
ม.288
(3) กรณีลูกหนีต ้ ามคำาพิพากษามีเจ้าหนีห ้ ลายราย แต่ทรัพย์สินของลูกหนีต ้ ามคำาพิพากษา มี
จำากัดไม่เพียงพอแก่การชำาระหนีแ ้ ก่เจ้าหนีต ้ ามคำาพิพากษาทุกราย และลูกหนีต ้ ามคำาพิพากษา
ไม่มีทรัพย์อ่ืนใดให้ยึดอีก เจ้าหนีต ้ ามคำาพิพากษารายอ่ ืนนัน ้ อาจย่ ืนคำาร้อง “ขอเฉล่ียทรัพย์”
ตาม ม.290
6. เม่ อื มีการยึดทรัพย์ของลูกหนีต ้ ามคำาพิพากษาแล้ว เจ้าพนักงานบังคับคดีจะต้องจำาหน่าย
ทรัพย์ท่ียึดหรืออายัดนัน ้ โดยการขายทอดตลาด เว้นแต่จะมีคำาสัง่ให้จำาหน่ายทรัพย์โดยวิธีอ่ืน
7. การจำาหน่ายทรัพย์ท่ียึดหรืออายัด มีหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติหลายขัน ้ ตอน การดำาเนินการ
ไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกฎหมายกำาหนด หรือมีการขายโดยไม่สุจริต ผู้มีส่วนได้
เสียมีสิทธิร้องขอให้เพิกถอนการบังคับคดีท่ีไม่ชอบด้วยกฎหมายนัน ้
8. นอกจากการขายทอดตลาดทรัพย์ท่ียึดแล้ว หากโดยสภาพของทรัพย์มีความจำาเป็ นต้อง
จำาหน่ายโดยวิธีอ่ืน เจ้าพนักงานบังคับคดีอาจขอต่อศาลอนุญาตให้จำาหน่ายทรัพย์โดยวิธีอ่ืนได้
ด้วย
9. การชำาระหนีใ้ห้แก่เจ้าหนีต ้ ามคำาพิพากษา
(1) เกิดขึ้นภายหลังได้จำาหน่ายทรัพย์ท่ียึดแล้ว
(2) เจ้าพนักงานบังคับคดีจะนำาเงินท่ีได้ หลังจากหักค่าธรรมเนียมในการขายทอดตลาดและ
ค่า ธรรมเนียมอ่ ืน (ถ้ามี) แล้ว นำามาชำาระหนีใ้ห้แก่เจ้าหนีต
้ ามคำาพิพากษา
(3) เม่ ือเจ้าหนีไ้ด้รับการชำาระหนีค
้ รบถ้วนแล้ว คดีแพ่งเป็ นอันเสร็จสิน
้ ลง
[ *** ดูรายละเอียดการบังคับคดีตามคำาพิพากษาหรือคำาสัง่ (วิ 2) จาก “เอกสารหมายเลข
12” *** ]

พระธรรมนูญศาลยุตธ
ิ รรม
แนวทางศึกษา พระธรรมนูญศาลยุติธรรม ควรอ่านหนังสือให้จบก่อนนะคะ(ขอขอบคุณ พ่ี
นิติเขียวทองค่ะ)
พระธรรมนูญศาลยุติธรรม

พระราชบัญญัติให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 มีสาระสำาคัญบางประการ ดังนี้


1. พระราชบัญญัตินีม ้ ีทัง้สิน
้ 8 มาตรา และมีผลบังคับใช้ตัง้แต่วันท่ี 19 พฤษภาคม 2543
เป็ นต้นไป (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 117 ตอนท่ี 44 ก หน้า 1 เม่ อ ื วันท่ี 18
พฤษภาคม 2543)
2. กำาหนดให้มีบทบัญญัติ “พระธรรมนูญศาลยุติธรรม” ซ่งึ แนบท้าย พรบ.ฉบับนี เ้พ่ ือใช้
บังคับ
3. พระธรรมนูญศาลยุติธรรมนี ใ้ห้ใช้บังคับแก่บรรดาคดีทัง้หลายท่ีย่ืนฟ้ องในวันท่ี19
พฤษภาคม 2543 เป็ นต้นไป แม้ว่ามูลคดีได้เกิดก่อนหรือในวันท่ีพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
นีใ้ช้บังคับก็ตาม
4. เหตุผลในการประกาศใช้ พรบ.ฉบับนีน ้ ัน
้ สืบเน่ ืองจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2540 มีบทบัญญัติท่ีเก่ียวข้องกับอำานาจตุลาการไว้ ดังนี้
(1) มาตรา 236 บัญญัติให้การนัง่พิจารณาคดีของศาล ต้องมีผู้พิพากษาครบองค์คณะ และ
ผู้พิพากษาซ่งึ มิได้นัง่พิจารณาคดีใดจะทำาคำาพิพากษาคดีนัน ้ มิได้ เว้นแต่มีเหตุสุดวิสัยหรือเหตุ
จำาเป็ น
อ่ ืนอันมิอาจก้าวล่วงได้
(2) มาตรา 249 บัญญัติให้การจ่ายสำานวนคดีให้ผู้พิพากษา ต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ท่ี
กฎหมายบัญญัติ และห้ามการเรียกคืนสำานวนคดีหรือการโอนสำานวนคดี เว้นแต่เป็ นกรณีท่ี
กระทบ
กระเทือนต่อความยุติธรรมในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี
(3) มาตรา 275 บัญญัติให้ศาลยุธิธรรมมีหน่วยธุรการท่ีเป็ นอิสระ โดยมีเลขาธิการสำานัก
งานศาลยุติธรรมเป็ นผู้บังคับบัญชา ขึ้นตรงต่อประธานศาลฎีกา

พระธรรมนูญศาลยุติธรรม
1. บทบัญญัติในพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มีทัง้สิน ้ 33 มาตรา แบ่งออกเป็ น 4 หมวด ดังนี้
หมวด 1 บททัว่ไป มี 14 มาตรา
หมวด 2 เขตอำานาจศาล มี 9 มาตรา
หมวด 3 องค์คณะผู้พิพากษา มี 8 มาตรา
หมวด 4 การจ่าย การโอน และการเรียกคืนสำานวนคดี มี 2 มาตรา
2. ในเร่ ือง “บททัว่ไป” ได้กล่าวถึง ศาลยุติธรรม มี 3 ชัน
้ (ธศ. ม.1) คือ
(1) ศาลชัน ้ ต้น (ธศ. ม.2) ได้แก่
- ศาลแพ่ง ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาลแพ่งธนบุรี
- ศาลอาญา ศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลอาญาธนบุรี
- ศาลจังหวัด (มีทุกจังหวัด บางจังหวัดอาจมี 2 ศาล)
- ศาลแขวง (จัดตัง้ขึ้นตาม พรบ.จัดตัง้ศาลแขวงและวิธีพิจารณาในศาลแขวง พ.ศ. 2499)
- ศาลยุติธรรมอ่ ืนท่ี พรบ.จัดตัง้ศาลนัน ้ กำาหนดให้เป็ นศาลชัน
้ ต้น
(2) ศาลอุทธรณ์ (ธศ. ม.3) ได้แก่
- ศาลอุทธรณ์
- ศาลอุทธรณ์ภาค ซ่งึ มีทัง้สิน ้ 9 ภาค
(3) ศาลฎีกา มีศาลเดียว ตัง้อยู่ในกรุงเทพมหานคร
3. การแบ่งส่วนราชการภายในของศาลยุติธรรม และการกำาหนดเขตอำานาจของแต่ละศาลนัน ้
ให้เป็ นอำานาจของ “คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม (ก.บ.ศ.)” โดยต้องออกเป็ นประกาศ
คณะกรรมการฯ ซ่งึ จะมีผลบังคับใช้ได้ต่อเม่ ือได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว
4. ประธานศาลฎีกา มีอำานาจหน้าท่ี (ธศ. ม.5) ดังนี้
(1) วางระเบียบราชการฝ่ ายตุลาการของศาลยุติธรรม
(2) ดูแลให้ผู้พิพากษาปฏิบัติตามระเบียบวิธีการต่างๆ ท่ีกำาหนดขึ้นให้เป็ นไปโดยถูกต้อง
5. ให้จัดตัง้สำานักงานศาลยุติธรรมขึ้นในศาลยุติธรรม โดยมีเลขาธิการสำานักงานศาลยุติธรรม
เป็ นผู้บังคับบัญชา (ธศ. ม.6) มีอำานาจหน้าท่ี ดังนี้
(1) บริหารงานธุรการในศาลยุติธรรม
(2) ดำาเนินการเก่ียวการจัดตัง้ การยุบเลิก หรือการเปล่ียนแปลงเขตอำานาจศาล เพ่ ือขอความ
เห็นชอบต่อ ก.บ.ศ. ก่อนเสนอขออนุมัติต่อ ครม.
6. กำาหนดให้มีตำาแหน่งและจำานวนตำาแหน่งในศาลยุติธรรม (ธศ. ม.8) ดังต่อไปนี้
(1) ศาลฎีกา
- ประธานศาลฎีกา 1 คน
- รองประธานศาลฎีกา มากกว่า 1 คน แต่ไม่เกิน 3 คน
(2) ศาลอุทธรณ์
- ประธานศาลอุทธรณ์ 1 คน (ตาม ธศ. เดิมคือ อธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์)
- ประธานศาลอุทธรณ์ภาคๆ ละ 1 คน (ทัง้หมดมี 9 คน)
- รองประธานศาลอุทธรณ์ 1 คน
- รองประธานศาลอุทธรณ์ภาคๆ ละ 1 คน (มีทัง้หมด 9 คน)
- ข้อสังเกต ตาม ม.8 ว.1 ความท้าย ระบุเฉพาะตำาแหน่งรองประธานศาลฎีกา และรอง
อธิบดีผู้
พิพากษาศาลชัน ้ ต้นเท่านัน้ มิได้ระบุตำาแหน่งรองประธานศาลอุทธรณ์หรือรองประธานศาล
อุทธรณ์ภาค จึงเข้าใจว่ารองประธานทัง้สองตำาแหน่งมีเพียงศาลละตำาแหน่งเดียว
(3) ศาลชัน ้ ต้น
- อธิบดีผู้พิพากษาศาลชัน ้ ต้น ศาลละ 1 คน
- รองอธิบดีผู้พิพากษาศาลชัน ้ ต้น ศาลละมากกว่า 1 คน แต่ไม่เกิน 3 คน
ทัง้นี ก ้ ารแต่งตัง้1
รองประธานศาลฎี
คน กาและรอ
แต่ไม่เกิน 3 คน ตาม ม.8 ว.1 ความท้ายนัน ้ ต้องเป็ นมติของ ก.บ.ศ. โดยความเห็นชอบ
ของประธานศาลฎีกา
* 7. การปฏิบัติหน้าท่ีนัน ้ ธศ. ฉบับนี้ (ธศ. ม.8) ได้วางแนวปฏิบัติเป็ นลำาดับขัน ้ ตอนไว้ดงั นี้
(1) ศาลฎีกา
- เม่ อ
ื ผู้ดำารงตำาแหน่งประธานศาลฎีกาไม่อาจปฏิบัติราชการได้ (เจ็บไข้ได้ป่วยหรือ
ไปราชการท่อ ี ่ ืน) ให้รองประธานศาลฎีกา เป็ นผู้ทำาการแทน
- ถ้ามีรองประธานศาลฎีกาหลายคน ให้รองประธานศาลฎีกาท่ีมีอาวุโสสูงสุด เป็ น
ผู้ทำาการแทน
- ถ้ารองประธานศาลฎีกาท่ีมอ ี าวุโสสูงสุดไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ผู้ท่ีมีอาวุโส
ถัดลงมาตามลำาดับ เป็ นผู้ทำาการแทน
- กรณีท่ีไม่มีผู้ทำาการแทนประธานศาลฎีกา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ไม่ว่า
จะเป็ นรองประธานศาลฎีกาทุกลำาดับอาวุโสก็ตาม ให้ผู้พิพากษาท่ีมีอาวุโสสูงสุด
ในศาลนัน ้ เป็ นผู้ทำาการแทน
- กรณีท่ีไม่มีผู้ทำาการแทนตามลำาดับท่ีกล่าวมาข้างต้นเลย ประธานศาลฎีกาจะสัง่ให้
ผู้พิพากษาคนหน่ ึง (ผู้พิพากษาจากศาลใดก็ได้) เป็ นผู้ทำาการแทนก็ได้
- ผู้พิพากษาอาวุโสและผู้พิพากษาประจำาศาล ไม่มีสิทธิเป็ นผู้ทำาการแทน
(2) ศาลอุทธรณ์ หรือศาลอุทธรณ์ภาค
- เม่ อ
ื ผู้ดำารงตำาแหน่งประธานศาลอุทธรณ์หรือประธานศาลอุทธรณ์ภาค ไม่อาจ
ปฏิบัติราชการได้ ให้รองประธานศาลอุทธรณ์หรือรองประธานศาลอุทธรณ์ภาค
เป็ นผู้ทำาการแทน
- กรณีท่ีไม่มีผู้ทำาการแทนประธานศาลอุทธรณ์หรือประธานศาลอุทธรณ์ภาค หรือมี
แต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ผู้พิพากษาท่ีมีอาวุโสสูงสุดในศาลนัน ้ เป็ นผู้ทำาการ
แทน
- กรณีท่ีไม่มีผู้ทำาการแทนตามลำาดับท่ีกล่าวมาข้างต้นเลย ประธานศาลฎีกาจะสัง่ให้
ผู้พิพากษาคนหน่ ึง (ผู้พิพากษาจากศาลใดก็ได้) เป็ นผู้ทำาการแทนก็ได้
- ผู้พิพากษาอาวุโสและผู้พิพากษาประจำาศาล ไม่มีสิทธิเป็ นผู้ทำาการแทน
(3) ศาลชัน ้ ต้น
- เม่ อ ื ผู้ดำารงตำาแหน่งอธิบดีผู้พิพากษาศาลชัน ้ ต้นไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รอง
อธิบดีผู้พิพากษาศาลชัน ้ ต้น เป็ นผู้ทำาการแทน
- ถ้ามีรองอธิบดีผู้พิพากษาศาลชัน ้ ต้นหลายคน ให้รองอธิบดีผู้พิพากษาศาลชัน ้ ต้นท่ี
มีอาวุโสสูงสุด เป็ นผู้ทำาการแทน
- ถ้ารองอธิบดีผู้พิพากษาศาลชัน ้ ต้นท่ีมีอาวุโสสูงสุดไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ผู้
ท่ีมีอาวุโสถัดลงมาตามลำาดับ เป็ นผู้ทำาการแทน
- กรณีท่ีไม่มีผู้ทำาการแทนอธิบดีผู้พิพากษาศาลชัน ้ ต้น หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติ
ราชการได้ ไม่ว่าจะเป็ นรองประธานศาลฎีกาทุกลำาดับอาวุโสก็ตาม ให้ผู้พิพากษา
ท่ีมีอาวุโสสูงสุดในศาลนัน ้ เป็ นผู้ทำาการแทน
- กรณีท่ีไม่มีผู้ทำาการแทนตามลำาดับท่ีกล่าวมาข้างต้นเลย ประธานศาลฎีกาจะสัง่ให้
ผู้พิพากษาคนหน่ ึง (ผู้พิพากษาจากศาลใดก็ได้) เป็ นผู้ทำาการแทนก็ได้
- ผู้พิพากษาอาวุโสและผู้พิพากษาประจำาศาล ไม่มีสิทธิเป็ นผู้ทำาการแทน
8. กรณีศาลจังหวัด หรือศาลแขวง (ธศ. ม.9) กำาหนดไว้ดงั นี้
- ให้มีผู้พิพากษาหัวศาลจังหวัดหรือผู้พิพากษาศาลแขวง ศาลละ 1 คน
- เม่ อื ตำาแหน่งผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดหรือผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแขวงว่างลง
หรือผู้ดำารงตำาแหน่งไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ผู้พิพากษาท่ีมีอาวุโสสูงสุดใน
ศาลนัน ้ เป็ นผู้ทำาการแทน
- ถ้าผู้พิพากษาท่ีมีอาวุโสสูงสุดในศาลนัน ้ ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ผู้ท่ีมีอาวุโส
ถัดลงมาตามลำาดับในศาลนัน ้ เป็ นผู้ทำาการแทน
- กรณีท่ีไม่มีผู้ทำาการแทนตามลำาดับท่ีกล่าวมาข้างต้นเลย ประธานศาลฎีกาจะสัง่ให้
ผู้พิพากษาคนหน่ ึง (ผู้พิพากษาจากศาลใดก็ได้) เป็ นผู้ทำาการแทนก็ได้
- ผู้พิพากษาอาวุโสและผู้พิพากษาประจำาศาล ไม่มีสิทธิเป็ นผู้ทำาการแทน
* 9. นอกจากนี ธ ้ ศ. ม.13 ยังกำาหนดให้มีอธิบดีผู้พิพากษาภาค ดังนี้
- ให้มีอธิบดีผู้พิพากษาภาคๆ ละ 1 คน ซ่ ึงมีจำานวนทัง้สิน ้ 9 ภาค
- ถ้าตำาแหน่งอธิบดีผู้พิพากษาภาคว่างลงหรือไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ประธาน
ศาลฎีกาสัง่ให้ผู้พิพากษาคนหน่ ึง (ผู้พิพากษาจากศาลใดก็ได้) เป็ นผู้ทำาการแทน
- ผู้พิพากษาอาวุโสและผู้พิพากษาประจำาศาล ไม่มีสิทธิเป็ นผู้ทำาการแทน
10. ในเร่ ือง “เขตอำานาจศาล” นัน ้ พระธรรมนูญศาลยุติธรรมได้วางแนวปฏิบัติ ไว้ดงั นี้
(1) ห้ามศาลยุติธรรมศาลใดศาลหน่ ึงรับฟ้ องคดี ซ่ ึงศาลยุติธรรมศาลอ่ ืนได้สัง่รับฟ้ องไว้โดย
ชอบแล้ว เว้นแต่คดีนัน ้ จะได้โอนมาตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย (ธศ. ม.15) ……………
หมายความว่า
กฎหมายห้ามศาลพิจารณาพิพากษาคดีซ้ำาซ้อน
(2) กรณีท่ีมีการย่ ืนฟ้ องคดีต่อศาลแพ่งหรือศาลอาญา และคดีนัน ้ เกิดขึ้น “นอก” เขตของ
ศาล
แพ่งหรือศาลอาญา …………กฎหมาย (ธศ. ม.16 ว.2) ให้อำานาจศาลแพ่งหรือศาลอาญา
ใช้ดุลพินิจ ดังนี้
- รับไว้พิจารณาพิพากษาต่อไป หรือ
- มีคำาสัง่โอนคดีไปยังศาลยุติธรรมอ่ ืนท่ีมีเขตอำานาจ
(3) กรณีท่ีมีการย่ ืนฟ้ องคดีต่อศาลจังหวัด และคดีนัน ้ เกิดขึ้น “ใน” เขตของศาลของแขวง
และอยู่ในอำานาจของศาลแขวงนัน ้ …………..กฎหมาย (ธศ. ม.16 ว.3) ให้อำานาจศาล
จังหวัดนัน ้ มีคำาสัง่
โอนคดีไปยังศาลแขวงท่ีมีเขตอำานาจ
* (4) ศาลแขวง (ธศ. ม.17) มีอำานาจขึ้นนัง่พิจารณาพิพากษาคดีด้วย “ผู้พิพากษาคน
เดียว” ได้
แต่ให้จำากัดอำานาจพิจารณาพิพากษาไว้ (ธศ. ม.24 , 25) ดังนี้
- ออกหมายเรียก หมายอาญา หรือหมายสัง่ให้ส่งคนมาจากหรือไปยังจังหวัดอ่ ืน
- ออกคำาสัง่ใดๆ ซ่ ึงมิใช่เป็ นไปในทางวินิจฉัยชีข้าดข้อพิพาทแพ่งคดี
- ไต่สวนและวินิจฉัยขีข้าดคำาร้องหรือคำาขอท่ีย่ืนต่อศาลในคดีทัง้ปวง
- ไต่สวนและมีคำาสัง่เก่ียวกับวิธีการเพ่ ือความปลอดภัย
- ไต่สวนมูลฟ้ องและมีคำาสัง่ในคดีอาญา
- พิจารณาพิพากษา “คดีแพ่ง” ซ่ ึงราคาทรัพย์สินท่ีพิพาทหรือจำานวนเงินท่ีฟ้อง
ไม่เกิน 300,000 บาท (300,000 บาทพอดี ก็ยงั อยู่ในอำานาจ)
- พิจารณาพิพากษา “คดีอาญา” ซ่งึ กฎหมายกำาหนดอัตราโทษจำาคุกไม่เกิน 3 ปี
ปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทัง้จำาทัง้ปรับ ……….แต่จะลงโทษจำาคุกเกิน 6
เดือน หรือปรับเกิน 10,000 บาท หรือทัง้จำาทัง้ปรับ ไม่ได้
(5) ศาลจังหวัด (ธศ. ม.18) มีอำานาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งและคดีอาญาทัง้ปวง ท่ีมิได้
อยู่ในอำานาจของศาลยุติธรรมอ่ ืน ……….ศาลจังหวัดหน่ ึงอาจแบ่งเขตอำานาจศาลแล้วจัดตัง้
เป็ นศาล
จังหวัดอีกแห่งหน่ ึงก็ได้ โดยใช้ช่ือตามพ้ืนท่ีเขตปกครองท่ีเป็ นท่ีตัง้ศาลนัน ้ เช่น ศาลจังหวัด
เบตง (จังหวัดยะลา) ศาลจังหวัดมีนบุรี (กรุงเทพฯ) ศาลจังหวัดธัญบุรี (จังหวัดปทุมธานี)
เป็ นต้น
(6) ศาลแพ่ง ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ และศาลแพ่งธนบุรี (ธศ. ม.19 ว.1) มีอำานาจพิจารณา
พิพากษาคดีแพ่งทัง้ปวง และคดีอ่ืนใดท่ีมิได้อยู่ในอำานาจของศาลอ่ ืน …………..ตัวอย่างคดี
อ่ ืน เช่น
คดีท่ีมูลคดีเกิดขึ้นในเรือไทยหรืออากาศยานไทยท่ีอยู่นอกราชอาณาจักร ปวพ. ม.3 (1)
กำาหนดให้
ศาลแพ่งเป็ นศาลท่ีมีเขตอำานาจ เป็ นต้น
(7) ศาลอาญา ศาลอาญากรุงเทพใต้ และศาลอาญาธนบุรี (ธศ. ม.19 ว.2) มีอำานาจ
พิจารณา
พิพากษาคดีอาญาทัง้ปวงท่ีมิได้อยู่ในอำานาจของศาลยุติธรรมอ่ ืน รวมทัง้คดีอ่ืนใดท่ีกฎหมาย
บัญญัติ
ให้อยู่ในอำานาจของศาลท่ีมอ ี ำานาจพิจารณาคดีอาญา
ศาลอุทธรณ์ (ธศ. ม.21) มีเขตอำานาจของศาลตลอดท้องท่ีท่ีมิได้อยู่ในเขตอำานาจของศาล
อุทธรณ์ภาค ……………..กรณีท่ีมีการย่ ืนอุทธรณ์คดีต่อศาลอุทธรณ์ และคดีนัน ้ อยู่ “นอก
” เขตของศาล
อุทธรณ์ …..กฎหมาย (ธศ. ม.21 ว.2) ให้อำานาจศาลอุทธรณ์ใช้ดุลพินิจ ดังนี้
- รับไว้พิจารณาพิพากษาต่อไป
- มีคำาสัง่โอนคดีไปยังศาลอุทธรณ์ภาคท่ีมีเขตอำานาจ
(9) ศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค มีอำานาจหน้าท่ี (ธศ. ม.22) ดังต่อไปนี้
- พิจารณาพิพากษาบรรดาคดีท่ีอุทธรณ์คำาพิพากษาหรือคำาสัง่ของศาลชัน ้ ต้น
- พิพากษายืนตาม แก้ไข กลับ หรือยกคำาพิพากษาของศาลชัน ้ ต้นท่ีพิพากษาลง
โทษประหารชีวิตหรือจำาคุกตลอดชีวิต เม่ ือคดีนัน ้ ส่งขึ้นมายังศาลอุทธรณ์ หรือ
ศาลอุทธรณ์ภาค
- วินิจฉัยชีข้าดคำาร้องคำาขอท่ีย่ืนต่อศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาคตาม กม.
- วินิจฉัยชีข้าดคดีท่ีศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาคมีอำานาจวินิจฉัยได้ตาม กม.อ่ ืน
(10) ศาลฎีกา มีอำานาจหน้าท่ี ดังนี้
- พิจารณาพิพากษาบรรดาคดีท่ีอุทธรณ์คำาพิพากษาหรือคำาสัง่ของศาลอุทธรณ์หรือ
ศาลอุทธรณ์ภาค
- พิจารณาพิพากษาคดีท่ีอุทธรณ์คำาพิพากษาหรือคำาสัง่ของศาลชัน ้ ต้นโดยตรงต่อ
ศาลฎีกา
- วินิจฉัยชีข้าดหรือสัง่คำาร้องคำาขอท่ีย่ืนต่อศาลฎีกาตามกฎหมาย
- คดีท่ีศาลฎีกาได้พิจารณาพิพากษาหรือมีคำาสัง่แล้ว คู่ความไม่มีสิทธิท่ีจะทูลเกล้าฯ
ถวายฎีกาคัดค้านคดีนัน ้
11. ในเร่ ือง “องค์คณะผู้พิพากษา” นัน ้ พระธรรมนูญศาลยุติธรรมได้วางแนวปฏิบัติ ไว้ดังนี้
(1) องค์คณะผู้พิพากษานัง่พิจารณาคดีในศาลแขวง
- ผู้พิพากษาเพียงคนเดียวเป็ นองค์คณะได้
- มีอำานาจ ตาม ธศ. ม.24 , 25
* - ยกเว้นคดีแพ่งท่ีไม่มีทุนทรัพย์ ผู้พิพากษาคนเดียวขึ้นนัง่พิจารณาพิพากษาคดีไม่ได้
* (2) ผู้พิพากษาประจำาศาล “ไม่ม” ี อำานาจพิจารณาพิพากษาในกรณีต่อไปนี้ (ธศ. ม.25
วรรคท้าย)
- ไต่สวนมูลฟ้ องและมีคำาสัง่ในคดีอาญา (ธศ. ม.25 (3))
- พิจารณาพิพากษา “คดีแพ่ง” ซ่ ึงราคาทรัพย์สินท่ีพิพาทหรือจำานวนเงินท่ีฟ้อง
ไม่เกิน 300,000 บาท (ธศ. ม.25 (4))
- พิจารณาพิพากษา “คดีอาญา” ซ่งึ กฎหมายกำาหนดอัตราโทษจำาคุกไม่เกิน 3 ปี
ปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทัง้จำาทัง้ปรับ ……….แต่จะลงโทษจำาคุกเกิน 6
เดือน หรือปรับเกิน 10,000 บาท หรือทัง้จำาทัง้ปรับ ไม่ได้ (ธศ. ม.25 (5))
(3) องค์คณะผู้พิพากษานัง่พิจารณาพิพากษาคดีในศาลชัน ้ ต้น นอกจากศาลแขวงและศาล
ยุติธรรมอ่ ืน (ธศ. ม.26)
- ต้องมีผู้พิพากษาอย่างน้อย 2 คน
- ต้องไม่เป็ นผู้พิพากษาประจำาศาลเกินกว่า 1 คน
(4) องค์คณะผู้พิพากษานัง่พิจารณาพิพากษาคดีในศาลอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ภาค หรือ
ศาลฎีกา (ธศ. ม.27)
- ต้องมีผู้พิพากษาอย่างน้อย 3 คน
(5) กรณีมีเหตุสุดวิสัยหรือมีเหตุจำาเป็ นอ่ ืนอันมิอาจก้าวล่วงได้ เกิดขึ้น “ระหว่างการ
พิจารณาคดี” ทำาให้ผู้พิพากษาไม่อาจนัง่พิจารณาเป็ นองค์คณะต่อไปได้ …….กฎหมาย (ธศ.
ม.28)
กำาหนดให้ผู้พิพากษาต่อไปนีน ้ ัง่พิจารณาคดีนัน ้ แทนได้ ดังนี้
- ในศาลฎีกา ได้แก่ ประธานศาลฎีกา หรือรองประธานศาลฎีกา หรือผู้พิพากษา
ในศาลฎีกาซ่ ึงประธานศาลฎีกามอบหมาย
- ในศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาค ได้แก่ ประธานศาลอุทธรณ์ ประธานศาล
อุทธรณ์ภาค หรือรองประธานศาลอุทธรณ์ รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค หรือ
ผู้พิพากษาในศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาค ซ่งึ ประธานศาลอุทธรณ์หรือ
ประธานศาลอุทธรณ์ภาค แล้วแต่กรณี มอบหมาย
- ในศาลชัน ้ ต้น ได้แก่ อธิบดีผู้พิพากษาศาลชัน ้ ต้น อธิบดีผู้พิพากษาศาลภาค
ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล หรือรองอธิบดีผู้พิพากษาศาลชัน ้ ต้น หรือผู้พิพากษาศาล
ในชัน ้ ต้นของศาลนัน ้ ซ่ ึงอธิบดีผู้พิพากษาศาลชัน ้ ต้น อธิบดีผู้พิพากษาศาลภาค
หรือผู้พิพากษาหัวหน้าศาล แล้วแต่กรณี มอบหมาย
* (6) กรณีมีเหตุสุดวิสัยหรือมีเหตุจำาเป็ นอ่ ืนอันมิอาจก้าวล่วงได้ เกิดขึ้น “ระหว่างการทำาคำา
พิพากษาคดี” ทำาให้ผู้พิพากษาไม่อาจทำาคำาพิพากษาเป็ นองค์คณะต่อไปได้ …….กฎหมาย (ธ
ศ. ม.29)
กำาหนดให้ผู้พิพากษาต่อไปนีท ้ ำาคำาพิพากษานัน ้ แทนได้ ดังนี้
- ในศาลฎีกา ได้แก่ ประธานศาลฎีกา หรือรองประธานศาลฎีกา
- ในศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาค ได้แก่ ประธานศาลอุทธรณ์ ประธานศาล
อุทธรณ์ภาค หรือรองประธานศาลอุทธรณ์ รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค
- ในศาลชัน ้ ต้น ได้แก่ อธิบดีผู้พิพากษาศาลชัน ้ ต้น อธิบดีผู้พิพากษาศาลภาค
รองอธิบดีผู้พิพากษาศาลชัน ้ ต้น หรือผู้พิพากษาศาลหัวหน้าศาล แล้วแต่กรณี
(7) เหตุจำาเป็ นอ่ ืนอันมิอาจก้าวล่วงได้ ตาม ธศ. ม.28 , 29 หมายความถึงกรณีต่อไปนี้
- ผู้พิพากษาคนนัน ้ พ้นจากตำาแหน่งท่ด ี ำารงอยู่
- ผู้พิพากษาคนนัน ้ ถูกคัดค้านและถอนตัวไป
- ผู้พิพากษาคนเดียวไต่สวนมูลฟ้ องคดีอาญาแล้วเห็นว่า ควรยกฟ้ อง แต่คดีมีอัตรา
โทษเกินกว่า 3 ปี หรือปรับเกินกว่า 60,000 บาท
- ผู้พิพากษาคนเดียวพิจารณาคดีอาญาแล้วเห็นว่า ควรลงโทษจำาคุกเกินกว่า 6 เดือน
หรือปรับเกินกว่า 10,000 บาท
- ผู้พิพากษาคนเดียวพิจารณาคดีแพ่งไปแล้ว ต่อมาปรากฏว่าราคาทรัพย์สินท่ีพิพาท
หรือจำานวนเงินท่ีฟ้องเกินกว่า 300,000 บาท
- คำาพิพากษาหรือคำาสัง่คดีแพ่งท่ีจะต้องกระทำาโดยผู้พิพากษาเป็ นองค์คณะหลายคน
และผู้พิพากษาในองค์คณะนัน ้ มีความเห็นแย้งจนหาเสียงข้างมากไม่ได้
12. ในเร่ ือง “การจ่าย การโอน และการเรียกคืนสำานวนคดี” นัน ้ พระธรรมนูญศาลยุติธรรม
ได้วางแนวปฏิบัติ ไว้ดงั นี้
(1) ผู้ท่ีมีหน้าท่ีใน “การจ่าย” สำานวนคดีให้แก่องค์คณะผู้พิพากษาในศาลหรือในแผนกคดี
นัน้ ……..กฎหมาย (ธศ. ม.32) กำาหนดให้เป็ นหน้าท่ีของ
- ประธานศาลฎีกา - อธิบดีผู้พิพากษาศาลชัน ้ ต้น
- ประธานศาลอุทธรณ์ - ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
- ประธานศาลอุทธรณ์ภาค - ผู้พิพากษาหัวหน้าแผนกคดี
(2) ผู้ท่ีมีหน้าท่ีใน “การเรียกคืน และการโอนสำานวนคดี ” ………..กฎหมาย (ธศ. ม.33)
กำาหนดให้เป็ นหน้าท่ีของ
- ประธานศาลฎีกา - อธิบดีผู้พิพากษาศาลชัน ้ ต้น
- ประธานศาลอุทธรณ์ - ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
- ประธานศาลอุทธรณ์ภาค
แต่การเรียกคืน และการโอนสำานวนคดีดังกล่าว จะกระทำาได้ตอ ้ งอยู่ภายใต้เง่ ือนไข ดังต่อไปนี้
- ต้องเป็ นกรณีท่ีจะกระทบกระเทือนต่อความยุติธรรมในการพิจารณาหรือพิพากษา
อรรถคดีของศาลนัน ้
- ต้องมีความเห็นให้กระทำาได้จากรองประธานศาลฎีกา รองประธานศาลอุทธรณ์
รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค รองอธิบดีผู้พิพากษาศาลชัน ้ ต้น หรือผู้พิพากษา
ท่ีมีอาวุโสสูงสุดในศาลจังหวัด หรือผู้พิพากษาท่ีมอ ี าวุโสสูงสุดในศาลแขวง

เร่ ืองอ่ ืนท่ีเก่ียวข้อง


1. ศาลท่ีพิจารณาคดีในประเทศไทยไทย ตามรัฐธรรมนูญฉบับปั จจุบันมี 4 ศาล กล่าวคือ
(1) ศาลรัฐธรรมนูญ - ผู้ทำาหน้าท่ีในศาลนีเ้รียกว่า “ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ”
- วินิจฉัยคดีท่ีเก่ียวกับข้อขัดแย้งทางกฎหมายด้านการเมือง
(2) ศาลปกครอง - ผู้ทำาหน้าท่ีในศาลนีเ้รียกว่า “ตุลาการศาลปกครอง”
- มีอำานาจเฉพาะคดีปกครอง
* (3) ศาลทหาร - ผู้ทำาหน้าท่ีในศาลนีเ้รียกว่า “ตุลาการศาลทหาร”
- แบ่งออกเป็ น 3 ชัน ้ คือ ชัน้ ต้น ชัน
้ กลาง และชัน
้ สูงสุด
- มีอำานาจเฉพาะคดีท่ีทหารกระทำาความผิดคดีอาญา
- ทหารและพลเรือนร่วมกันกระทำาความผิดคดีอาญา ต้องขึ้นศาล
พลเรือน
(4) ศาลยุติธรรม - ผู้ทำาหน้าท่ีในศาลนีเ้รียกว่า “ผู้พิพากษา”
- แบ่งออกเป็ น 3 ชัน ้ คือ ชัน้ ต้น อุทธรณ์ และฎีกา
- มีอำานาจพิจารณาคดีทัง้ปวงท่ีมิได้อยู่ในอำานาจของ 3 ศาล
2. คดีแพ่งท่ีเก่ียวเน่ ืองกับคดีอาญา มีลักษณะพิเศษ กล่าวคือ
- คดีแพ่งต้องถือข้อเท็จจริงตามท่ีปรากฏในคดีอาญา
- การดำาเนินคดีแพ่ง จำาต้องรอผลของคดีอาญาก่อน
- เม่ อ
ื ดำาเนินคดีทางแพ่งแล้วก็ไม่จำาเป็ นต้องนำาสืบพยานอีก
3. กรณีนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือข้าราชการ
การเมืองอ่ ืนกระทำาความผิดคดีอาญา ต้องย่ ืนคำาฟ้ องต่อ “ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำารง
ตำาแหน่งทางการเมือง”
4. ตำาแหน่งผู้พิพากษา (ข้าราชการฝ่ ายตุลาการ) ตาม ธศ. ฉบับใหม่นี จ้ำาแนกผู้พิพากษา
ออกเป็ น 5 ประเภท กล่าวคือ
(1) ผู้พิพากษาธรรมดา ซ่ ึงปฏิบัติราชการอยู่ในศาลยุติธรรมทัง้ 3 ชัน ้
* (2) ผู้พิพากษาสมทบ ซ่ ึงมีอยู่เฉพาะศาลชำานัญพิเศษ เช่น
- ศาลแรงงาน - ศาลเยาวชนและครอบครัว
- ศาลภาษีอากร - ศาลทรัพย์สินทางปั ญญา
- ศาลล้มละลาย
* (3) ดาโต๊ะยุติธรรม
- เป็ นผู้ทำาหน้าท่ีชีข้าดข้อกฎหมายอิสลามในศาลชัน ้ ต้น …..ข้อชีข้าดถือเป็ นท่ีสุด
- ต้องชีข้าดเฉพาะคดีแพ่งท่ีคู่ความทัง้ 2 ฝ่ ายเป็ นอิสลามศาสนิก
- คดีแพ่งนัน ้ ต้องเป็ นข้อพิพาทท่ีเก่ียวกับครอบครัวหรือมรดก
- ต้องเป็ นคดีท่ีเกิดใน 4 จังหวัดภาคใต้ คือ ปั ตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล
(มีศาลจังหวัด 5 แห่ง รวมถึงศาลจังหวัดเบตง)
- ขึ้นนัง่พิจารณาพิพากษาคดีพร้อมกับผู้พิพากษาธรรมดา
(4) ผู้พิพากษาอาวุโส ได้แก่
- ผู้พิพากษาท่ีเกษียณอายุราชการไปแล้วเม่ ือครบ 60 ปี แต่ทางการยังจ้างอยู่ต่อ
ในลักษณะปี ต่อปี จนอายุครบ 70 ปี (ผู้พิพากษาท่ียงั ไม่เกษียณอายุราชการ แต่มีความ
อาวุโสในศาลนัน ้ เรียกว่า “ผู้พิพากษาท่ีมีอาวุโส” )
- ทำาหน้าท่ีพิจารณาพิพากษาคดีต่างๆ ในศาลชัน ้ ต้นเท่านัน

(5) ผู้พิพากษาประจำาศาล ได้แก่
- ผู้พิพากษาใหม่ท่ีเพ่ิงได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตัง้ให้เป็ นผู้พิพากษา
- ทางการยังไม่ให้รับผิดชอบในการพิจารณาพิพากษาคดีโดยลำาพัง
- ประจำาอยู่ตามศาลต่างๆ เพ่ ือเก็บเก่ียวประสบการณ์

วิธก
ี ารส่งหมายเรียก
แนวทางศึกษา วิธีการส่งหมายเรียก ควรอ่านหนังสือให้จบก่อนนะคะ(ขอขอบคุณ พ่ีนิติเขียว
ทองค่ะ)
เอกสารหมายเลข 2
วิธีการส่งหมายเรียกและสำาเนาคำาฟ้ องให้แก่จำาเลย
เจ้าพนักงานศาลมีหน้าท่ีส่งสำาเนาคำาฟ้ องให้แก่จำาเลย (ม.70 ว.1) โดยมีวิธีการและขัน ้ ตอน
ดังนี้
(1) วิธีการส่งสำาเนาคำาฟ้ องให้แก่จำาเลย
- ให้ส่งในเวลากลางวัน ระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นและพระอาทิตย์ตก (ม.74 (1))
- ให้ส่งแก่จำาเลย ณ ภูมิลำาเนาหรือสำานักงานของจำาเลย (ม.74 (2))
- การส่งคำาฟ้ องให้ทนายความของจำาเลย ถือว่าเป็ นการส่งโดยชอบด้วยกฎหมาย (ม.75)
- การส่งคำาฟ้ องแล้วไม่พบตัวจำาเลย ให้ส่งแก่บุคคลใดๆ ท่ีมอ
ี ายุเกิน 20 ปี ซ่ ึงอยู่หรือทำางาน
อยู่ในสถานท่ีนัน ้ ๆ ก็ได้ (ม.76)
(2) กรณีการส่งหมายตามปกติ ……….ให้เจ้าพนักงานศาลจัดส่งคำาฟ้ องโดยเร็ว ทัง้นีอ ้ าจให้
ผู้ขอไปด้วยเพ่ ือชีต
้ ัวผู้รับก็ได้ (ม.73)
(3) กรณีการวางหมาย ………เม่ ือได้มีการส่งหมายตามปกติแล้ว จำาเลยไม่ยอมรับหมายโดย
ปราศจากเหตุอันชอบด้วยกฎหมาย ม.78 กำาหนดแนวปฏิบัติไว้ ดังนี้
- ให้เจ้าพนักงานศาลจัดส่งคำาฟ้ องนัน ้ อีกครัง้หน่ ึง
- ครัง้นีใ้ห้เจ้าพนักงานฝ่ ายปกครองในท้องท่ีนัน ้ หรือเจ้าพนักงานตำารวจไปเป็ นพยานด้วย
- ถ้าจำาเลยยังไม่ยอมรับอยู่อีก ก็ให้วางคำาฟ้ องไว้ ณ ท่ีนัน ้ เลย
(4) กรณีการปิ ดหมาย …………กรณีท่ีได้สง่ หมายด้วยวิธีข้างต้นทัง้ตามปกติและการวาง
หมายแล้วไม่ได้ผล ม.79 กำาหนดแนวปฏิบัติโดยให้อำานาจศาลสัง่ให้ดำาเนินการด้วยวิธีหน่ ึงวิธี
ใดต่อไปนี้
- ปิ ดคำาฟ้ องไว้ในท่ีแลเห็นได้ง่าย ณ ภูมล ิ ำาเนาหรือสำานักงานของจำาเลย
- มอบหมายคำาฟ้ องไว้แก่เจ้าพนักงานฝ่ ายปกครองในท้องท่ีหรือเจ้าพนักงานตำารวจ เพ่ ือให้
ปิ ดประกาศ ณ ภูมล ิ ำาเนาหรือสำานักงานของจำาเลย
- ลงโฆษณา
- วิธีการอ่ ืนใดท่ีศาลเห็นสมควร
(5) การส่งคำาฟ้ องให้แก่จำาเลยซ่งึ ไม่มีภูมล ิ ำาเนาอยู่ในราชอาณาจักร ให้ส่งคำาฟ้ องนัน
้ ไปยัง
ภูมิลำาเนาหรือสำานักงานของจำาเลยท่ีอยู่นอกราชอาณาจักรนัน ้ (ม.83 ทวิ)
(6) เจ้าพนักงานศาลส่งคำาฟ้ องได้หรือไม่ได้ก็ตาม ต้องรายงานต่อศาลทราบเสมอ (ม.80)
และเป็ นหน้าท่ีของฝ่ ายโจทก์ท่ีจะต้องติดตามข่าว หากส่งไม่ได้ก็ต้องแถลงขอให้ศาลส่งใหม่
(7) กรณีท่ีมีจำาเลยหลายคน ต้องส่งสำาเนาคำาฟ้ องให้แก่จำาเลยเหล่านัน ้ ทุกคน (ม.82)
การส่งหมายเรียกพยานโดยคู่ความฝ่ ายใดก็ตาม ต้องปฏิบัติเช่นเดียวกับการส่งคำาฟ้ อง คือส่ง
ในเวลากลางวัน และท่ีภูมล ิ ำาเนาหรือสำานักงานของพยาน (ม.81)

ค่าฤชาธรรมเนียม
แนวทางศึกษา ค่าฤชาธรรมเนียม ควรอ่านหนังสือให้จบก่อนนะคะ(ขอขอบคุณ พ่ีนิติเขียว
ทองค่ะ)
เอกสารหมายเลข 4

ค่าฤชาธรรมเนียม
1. การดำาเนินคดีแพ่งนัน ้ กฎหมายกำาหนดให้คู่ความต้องเสียค่าธรรมเนียมศาลต่างๆ ซ่ ึงมีคำา
อยู่ 2 คำาท่ีต้องทำาความเข้าใจ คือ
(1) ค่าธรรมเนียมศาล (Fee) เป็ นเงินท่ีคู่ความหรือบุคคลผู้ใช้บริการศาลต้องชำาระให้แก่ศาล
เก่ียวกับคดี เช่น ค่าคดี ค่าคัดสำาเนาคำาพิพากษา และค่ารับรองสำาเนา เป็ นต้น
(2) ค่าฤชาธรรมเนียม (Cost) เป็ นค่าใช้จ่ายทัง้หมดในการดำาเนินคดี ซ่ ึงรวมถึงค่าธรรม
เนียมศาล และค่าใช้จ่ายอ่ ืน เช่น ค่าป่ วยการพยาน ค่าตรวจสอบลายมือในเอกสารโดยผู้
เช่ียวชาญ ค่าทนายความ เป็ นต้น
2. ผู้มีหน้าท่ีต้องชำาระค่าธรรมเนียมศาลนัน ้ ปวพ. ม.149 ระบุไว้ว่ามีอยู่ 3 ฝ่ าย คือ
(1) คู่ความผู้เร่ิมคดีหรือย่ ืนคำาฟ้ อง กล่าวคือ คดีท่ีมีขอ
้ พิพาท คือ โจทก์ ……คดีท่ีไม่มีข้อ
พิพาท คือ ผู้ร้องหรือผู้ร้องขอ
(2) คู่ความท่ีดำาเนินกระบวนพิจารณาอย่างใดอย่างหน่งึ เช่น ทนายโจทก์ขอเล่ ือนคดีด้วยการ
ทำาเป็ นคำาร้อง ก็ต้องเสียค่าคำาร้อง
(3) คู่ความฝ่ ายท่ีศาลระบุไว้ในคำาสัง่ เช่น กรณีศาลสัง่ให้ผู้เช่ียวชาญตรวจลายนิว้มือ

การดำาเนินคดีอย่างคนอนาถา
มาตรา 155 ว.1 วางหลักไว้ว่า “ถ้าคู่ความคนใดอ้างว่าเป็ นคนยากจน ไม่สามารถเสียค่า
ธรรมเนียมศาล… เม่ ือศาลได้ไต่สวนแล้วเช่ ือได้ว่า คู่ความคนนัน ้ เป็ นคนยากจนไม่มีทรัพย์สิน
พอจะเสียค่าธรรมเนียมศาล ให้ศาลอนุญาตให้คู่ความคนนัน ้ ฟ้ องหรือต่อสู้อย่างคนอนาถาได้
แต่ถ้าผู้ขอเช่นว่านีเ้ป็ นโจทก์ ผู้ขอจะต้องแสดงให้เป็ นท่ีพอใจศาลว่า คดีของตนมีมูลท่ีจะฟ้ อง
ร้อง…..”
หลักกฎหมาย - คู่ความ หมายความถึง โจทก์หรือจำาเลยก็ได้ ซ่งึ ต่างก็มีสิทธิขอดำาเนินคดีอย่าง
คนอนาถา
แต่มีจุดต่างกันคือ
* ถ้าคู่ความเป็ นโจทก์ ต้องเป็ นคนยากจน และคดีนัน ้ ต้องมีมูลท่ีจะฟ้ อง
* ถ้าคู่ความเป็ นจำาเลย ต้องเป็ นคนยากจน
- การเป็ นคนยากจนนัน ้ เป็ นหน้าท่ีของศาลท่ีจะต้องทำาไต่สวนจนเช่ ือได้วา่ คู่ความคนนัน ้
เป็ นคนยากจนจริง
- ส่วนคดีท่ีจะฟ้ องนัน้ จะมีมูลหรือไม่ เป็ นหน้าท่ีของโจทก์ต้องพิสูจน์ให้ศาลเห็นเช่นนัน ้
ข้อสังเกต - คำาว่า “คนยากจน” นัน ้ ต้องยากจนถึงขนาดไม่สามารถเสียค่าธรรมเนียมศาลได้
- ค่าธรรมเนียมศาล หมายความถึง เงินท่ีคู่ความหรือบุคคลผู้ใช้บริการศาลชำาระให้แก่ศาล
เก่ียวกับคดี …..ทัง้นี ค “้ นละความหมายกั ” บคำาว่าค่าฤชาธรรมเนียม
- ค่าฤชาธรรมเนียม หมายความถึง ค่าธรรมเนียมศาล และค่าใช้จ่ายอ่ ืนรวมอยู่ดว้ ย

มาตรา 156 วางหลักไว้ว่า “ผู้ใดมีความจำานงจะฟ้ องหรือต่อสู้คดีอย่างคนอนาถา ให้ย่ืน


คำาร้องต่อศาลชัน ้ ต้นท่ีจะฟ้ องหรือได้ฟ้องคดีไว้นัน้ พร้อมกับคำาฟ้ องหรือคำาให้การ และสาบาน
ตัวให้คำาชีแ
้ จงว่า ตนไม่มีทรัพย์สินพอจะเสียค่าธรรมเนียมศาล
เม่ ือพนักงานเจ้าหน้าท่ีได้จดถ้อยคำาสาบานของผู้ขอฟ้ องหรือต่อสู้คดีอย่างคนอนาถาแล้ว ให้
ศาลจัดส่งสำาเนาถ้อยคำาสาบานนัน ้ ให้แก่คู่ความอีกฝ่ ายหน่งึ พร้อมกับสำาเนาคำาขอฟ้ องหรือ
ต่อสู้อย่างคนอนาถา และถ้าโจทก์เป็ นผู้ย่ืนคำาขอเช่นว่านัน ้ ให้ส่งสำาเนาคำาฟ้ องไปด้วย
เม่ ือศาลได้ฟังคู่ความทุกฝ่ ายและทำาการไต่สวนตามท่ีเห็นสมควรแล้ว ให้ศาลมีคำาสัง่อนุญาต
หรือยกคำาขอนัน ้ เสีย ถ้าศาลอนุญาตตามคำาขอ คำาสัง่อนุญาตนัน ้ ให้เป็ นท่ีสุด
ถ้าศาลมีคำาสัง่อนุญาตให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลให้แต่เฉพาะบางส่วน หรือมีคำาสัง่ให้ยก
คำาขอเสีย ผู้ย่ืนคำาขออาจย่ ืนคำาร้องขอต่อศาลให้พิจารณาคำาขอนัน ้ ใหม่ เพ่ ืออนุญาตให้ตนนำา
พยานหลักฐานมาแสดงเพ่ิมเติมว่า ตนเป็ นคนยากจนก็ได้
ในกรณีศาลมีคำาสัง่อนุญาตให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลให้แต่เฉพาะบางส่วน หรือมีคำาสัง่ให้
ยกคำาขอเสีย ถ้าเป็ นการขอฟ้ องหรือต่อสู่คดีในชัน ้ ศาลชัน
้ ต้น ผู้ขออาจอุทธรณ์คำาสัง่นัน ้ ต่อ
ศาลอุทธรณ์ได้ภายในกำาหนดเจ็ดวัน นับแต่วันมีคำาสัง่ คำาสัง่ของศาลอุทธรณ์เช่นว่านีใ้ห้เป็ น
ท่ีสุด”
หลักกฎหมาย
ม.156 ว.1 - คู่ความท่ีต้องการฟ้ องหรือหรือต่อสู้คดีอย่างคนอนาถา จะต้องดำาเนินการ 2
ประการ คือ
* ต้องย่ ืนคำาร้องขอต่อศาลชัน ้ ต้นท่ีจะฟ้ องหรือได้ฟ้องไว้นัน้
* ต้องสาบานตัวให้ถ้อยคำาด้วยตนเองว่า ตนไม่มีทรัพย์สินพอจะเสียค่าธรรมเนียม
ศาลได้
- การย่ ืนคำาร้องขอดังกล่าว ต้องย่ ืนพร้อมคำาฟ้ องหรือคำาให้การ แล้วแต่กรณี
ม.156 ว.2 - พนักงานเจ้าหน้าท่ีศาล มีหน้าท่ีบันทึกถ้อยคำาสาบานของผู้ร้องขอ
- ศาลมีหน้าท่ีจัดส่งสำาเนาถ้อยคำาสาบานให้คู่ความอีกฝ่ ายหน่งึ โดยจัดไปพร้อมกับ
* สำาเนาคำาขอฟ้ อง (คำาร้องขอ) หรือต่อสู้คดีอย่างคนอนาถา
* ถ้าโจทก์เป็ นผู้ย่ืนคำาร้องขอ ให้ส่งสำาเนาคำาฟ้ องไปด้วย
ม.156 ว.3 - เม่ ือศาลได้ไต่สวนและฟั งได้ความเช่นใด ศาลจะมีคำาสัง่ 2 ประการ คือ
(1) มีคำาสัง่อนุญาตให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล หรือ
(2) มีคำาสัง่ยกคำาร้องเสีย
- ถ้าศาลอนุญาตตามคำาขอ (เต็มจำานวนหรือไม่ก็ตาม) คำาสัง่อนุญาตนัน ้ ให้เป็ นท่ีสุด
- ถ้าศาลมีคำาสัง่ยกคำาร้องเสีย ศาลต้องมีคำาสัง่ให้ผู้ร้องขอนำาค่าธรรมเนียมศาลมาชำาระต่อ
ศาลภายในกำาหนดเวลา
ม.156 ว.4 - คำาสัง่ศาลเก่ียวกับการขอดำาเนินคดีอย่างคนอนาถา มีได้ใน 2 กรณี คือ
(1) มีคำาสัง่อนุญาตยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลแต่เฉพาะบางส่วน หรือ
(2) มีคำาสัง่ให้ยกคำาขอเสีย
- กรณีศาลมีคำาสัง่ยกคำาขอเสียของโจทก์ อาจเป็ นไปได้ 3 ประการ เช่น
(1) คดีมีมูล แต่โจทก์ไม่ยากจน
(2) คดีไม่มีมูล แต่โจทก์ยากจน
(3) คดีไม่มีมูล และโจทก์ก็ไม่ได้ยากจน
- ถ้าผู้ร้องขอไม่พอใจคำาสัง่ดังกล่าว อาจย่ ืนคำาร้องขอให้ศาลพิจารณาคำาขอนัน ้ ใหม่
- ให้พิจารณาคำาขอนัน ้ ใหม่ เฉพาะกรณีการอนุญาตให้นำาพยานหลักฐานมาพิสูจน์ว่า
ผู้ร้องขอเป็ นคนยากจนเท่านัน ้ ……ไม่เก่ียวกับคดีมีมูลหรือไม่มีมูล
ม.156 ว.5 - คำาสัง่ศาลเก่ียวกับการขอดำาเนินคดีอย่างคนอนาถา มีได้ใน 2 กรณี คือ
(1) มีคำาสัง่อนุญาตยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลแต่เฉพาะบางส่วน หรือ
(2) มีคำาสัง่ให้ยกคำาขอเสีย
- ถ้าผู้ร้องขอไม่พอใจคำาสัง่ดังกล่าว อาจย่ ืนคำาร้องขออุทธรณ์คำาสัง่ต่อศาลอุทธรณ์ได้
- การย่ ืนอุทธรณ์เช่นนัน้ ต้องย่ ืนภายใน 7 วัน นับแต่วันมีคำาสัง่

ข้อสังเกตเพ่ิมเติมของ ม.155 และ ม.156


1. การท่ีศาล (ศาลชัน ้ ต้น) จะสัง่อนุญาตให้ดำาเนินคดีอย่างคนอนาถาได้ ต้องปรากฏข้อเท็จ
จริงต่อศาล 2 ประการ ตาม ม.155 ว.1 กล่าวคือ
(1) ผู้ร้องขอต้องยากจนจริง และ
(2) คำาฟ้ องนัน ้ มีมูลท่ีจะฟ้ อง หรือคดีมีมล
ู ท่ีจะฟ้ อง
2. ถ้าศาลไต่สวนแล้วมีคำาสัง่ยกคำาร้องเสีย เพราะเหตุผู้ร้องขอไม่ยากจนถึงขนาดไม่สามารถ
ชำาระค่าธรรมเนียมศาลได้ ผู้ร้องขอมีสิทธิ 2 ประการ คือ
(1) ย่ ืนคำาร้องขอให้พิจารณาคำาขอนัน ้ ใหม่ต่อศาล เพ่ ือให้ศาลอนุญาตให้ผู้ร้องขอนำาพยาน
หลักฐานมาสืบเพ่ิมเติม ตาม ม.156 ว.4
(2) ย่ ืนอุทธรณ์คำาสัง่ต่อศาลอุทธรณ์ ภายในกำาหนด 7 วัน นับแต่วันมีคำาสัง่ ตาม ม.156
ว.5
3. แต่ถ้าศาลมีคำาสัง่ยกคำาร้องเสีย เพราะเหตุคำาฟ้ องไม่มีมูลจะฟ้ อง ผู้ร้องขอมีสิทธิประการ
เดียว คือ ต้องย่ ืนอุทธรณ์คำาสัง่ต่อศาลอุทธรณ์ ภายในกำาหนด 7 วัน นับแต่วันมีคำาสัง่ ตาม
ม.156 ว.5
4. ถ้าคู่ความได้รับอนุญาตให้ดำาเนินคดีอย่างคนอนาถาในศาลชัน ้ ต้นแล้ว ต่อมาได้ร้องขอ
ดำาเนินคดีอย่างคนอนาถาในศาลชัน ้ อุทธรณ์หรือศาลชัน ้ ฎีกา ให้ถือว่า คู่ความนัน
้ ยังยากจน
อยู่ ศาลชัน้ ต้นท่ีรับคำาร้องนัน้ อนุญาตได้เลยโดยไม่ต้องไต่สวนอีก ตาม ม.155 ว.2
5. ถ้าผู้ร้องขอซ่งึ ได้รับอนุญาตให้ดำาเนินคดีอย่างคนอนาถาตายลง ผู้เข้ามาเป็ นคู่ความแทน
แม้มีฐานะดี ก็มีสิทธิดำาเนินคดีอย่างคนอนาถาต่อไปได้
6. การใช้สิทธิขอพิจารณาคำาขอใหม่ ตาม ม.156 ว.4 และการอุทธรณ์คำาสัง่ ตาม ม.156
ว.5 เป็ นกรณีท่ีกฎหมายได้ลำาดับการดำาเนินกระบวนพิจารณาไว้ กล่าวคือ ถ้าใช้สิทธิตาม
ม.156 ว.5 แล้ว จะย้อนกลับมาขอใช้สิทธิตาม ม.156 ว.4 ไม่ได้
****************

1. การดำาเนินคดีแพ่งนัน ้ กฎหมายกำาหนดให้คู่ความต้องเสียค่าธรรมเนียมศาลต่างๆ ซ่ ึงมีคำา
อยู่ 2 คำาท่ีต้องทำาความเข้าใจ คือ
(1) ค่าธรรมเนียมศาล (Fee) เป็ นเงินท่ีคู่ความหรือบุคคลผู้ใช้บริการศาลต้องชำาระให้แก่ศาล
เก่ียวกับคดี เช่น ค่าคดี ค่าคัดสำาเนาคำาพิพากษา และค่ารับรองสำาเนา เป็ นต้น
(2) ค่าฤชาธรรมเนียม (Cost) เป็ นค่าใช้จ่ายทัง้หมดในการดำาเนินคดี ซ่ ึงรวมถึงค่าธรรม
เนียมศาล และค่าใช้จ่ายอ่ ืน เช่น ค่าป่ วยการพยาน ค่าตรวจสอบลายมือในเอกสารโดยผู้
เช่ียวชาญ ค่าทนายความ เป็ นต้น
2. ผู้มีหน้าท่ีต้องชำาระค่าธรรมเนียมศาลนัน ้ ปวพ. ม.149 ระบุไว้ว่ามีอยู่ 3 ฝ่ าย คือ
(1) คู่ความผู้เร่ิมคดีหรือย่ ืนคำาฟ้ อง กล่าวคือ คดีท่ีมีขอ
้ พิพาท คือ โจทก์ ……คดีท่ีไม่มีข้อ
พิพาท คือ ผู้ร้องหรือผู้ร้องขอ
(2) คู่ความท่ีดำาเนินกระบวนพิจารณาอย่างใดอย่างหน่งึ เช่น ทนายโจทก์ขอเล่ ือนคดีด้วยการ
ทำาเป็ นคำาร้อง ก็ต้องเสียค่าคำาร้อง
(3) คู่ความฝ่ ายท่ีศาลระบุไว้ในคำาสัง่ เช่น กรณีศาลสัง่ให้ผู้เช่ียวชาญตรวจลายนิว้มือ
การดำาเนินคดีอย่างคนอนาถา
มาตรา 155 ว.1 วางหลักไว้ว่า “ถ้าคู่ความคนใดอ้างว่าเป็ นคนยากจน ไม่สามารถเสียค่า
ธรรมเนียมศาล… เม่ ือศาลได้ไต่สวนแล้วเช่ ือได้ว่า คู่ความคนนัน ้ เป็ นคนยากจนไม่มีทรัพย์สิน
พอจะเสียค่าธรรมเนียมศาล ให้ศาลอนุญาตให้คู่ความคนนัน ้ ฟ้ องหรือต่อสู้อย่างคนอนาถาได้
แต่ถ้าผู้ขอเช่นว่านีเ้ป็ นโจทก์ ผู้ขอจะต้องแสดงให้เป็ นท่ีพอใจศาลว่า คดีของตนมีมูลท่ีจะฟ้ อง
ร้อง…..”
หลักกฎหมาย - คู่ความ หมายความถึง โจทก์หรือจำาเลยก็ได้ ซ่งึ ต่างก็มีสิทธิขอดำาเนินคดีอย่าง
คนอนาถา
แต่มีจุดต่างกันคือ
* ถ้าคู่ความเป็ นโจทก์ ต้องเป็ นคนยากจน และคดีนัน ้ ต้องมีมูลท่ีจะฟ้ อง
* ถ้าคู่ความเป็ นจำาเลย ต้องเป็ นคนยากจน
- การเป็ นคนยากจนนัน ้ เป็ นหน้าท่ีของศาลท่ีจะต้องทำาไต่สวนจนเช่ ือได้วา่ คู่ความคนนัน้
เป็ นคนยากจนจริง
- ส่วนคดีท่ีจะฟ้ องนัน ้ จะมีมูลหรือไม่ เป็ นหน้าท่ีของโจทก์ต้องพิสูจน์ให้ศาลเห็นเช่นนัน ้
ข้อสังเกต - คำาว่า “คนยากจน” นัน ้ ต้องยากจนถึงขนาดไม่สามารถเสียค่าธรรมเนียมศาลได้
- ค่าธรรมเนียมศาล หมายความถึง เงินท่ีคู่ความหรือบุคคลผู้ใช้บริการศาลชำาระให้แก่ศาล
เก่ียวกับคดี …..ทัง้นี ค “้ นละความหมายกั ” บคำาว่าค่าฤชาธรรมเนียม
- ค่าฤชาธรรมเนียม หมายความถึง ค่าธรรมเนียมศาล และค่าใช้จ่ายอ่ ืนรวมอยู่ดว้ ย

มาตรา 156 วางหลักไว้ว่า “ผู้ใดมีความจำานงจะฟ้ องหรือต่อสู้คดีอย่างคนอนาถา ให้ย่ืน


คำาร้องต่อศาลชัน ้ ต้นท่ีจะฟ้ องหรือได้ฟ้องคดีไว้นัน้ พร้อมกับคำาฟ้ องหรือคำาให้การ และสาบาน
ตัวให้คำาชีแ
้ จงว่า ตนไม่มีทรัพย์สินพอจะเสียค่าธรรมเนียมศาล
เม่ ือพนักงานเจ้าหน้าท่ีได้จดถ้อยคำาสาบานของผู้ขอฟ้ องหรือต่อสู้คดีอย่างคนอนาถาแล้ว ให้
ศาลจัดส่งสำาเนาถ้อยคำาสาบานนัน ้ ให้แก่คู่ความอีกฝ่ ายหน่งึ พร้อมกับสำาเนาคำาขอฟ้ องหรือ
ต่อสู้อย่างคนอนาถา และถ้าโจทก์เป็ นผู้ย่ืนคำาขอเช่นว่านัน ้ ให้ส่งสำาเนาคำาฟ้ องไปด้วย
เม่ ือศาลได้ฟังคู่ความทุกฝ่ ายและทำาการไต่สวนตามท่ีเห็นสมควรแล้ว ให้ศาลมีคำาสัง่อนุญาต
หรือยกคำาขอนัน ้ เสีย ถ้าศาลอนุญาตตามคำาขอ คำาสัง่อนุญาตนัน ้ ให้เป็ นท่ีสุด
ถ้าศาลมีคำาสัง่อนุญาตให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลให้แต่เฉพาะบางส่วน หรือมีคำาสัง่ให้ยก
คำาขอเสีย ผู้ย่ืนคำาขออาจย่ ืนคำาร้องขอต่อศาลให้พิจารณาคำาขอนัน ้ ใหม่ เพ่ ืออนุญาตให้ตนนำา
พยานหลักฐานมาแสดงเพ่ิมเติมว่า ตนเป็ นคนยากจนก็ได้
ในกรณีศาลมีคำาสัง่อนุญาตให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลให้แต่เฉพาะบางส่วน หรือมีคำาสัง่ให้
ยกคำาขอเสีย ถ้าเป็ นการขอฟ้ องหรือต่อสู่คดีในชัน ้ ศาลชัน
้ ต้น ผู้ขออาจอุทธรณ์คำาสัง่นัน ้ ต่อ
ศาลอุทธรณ์ได้ภายในกำาหนดเจ็ดวัน นับแต่วันมีคำาสัง่ คำาสัง่ของศาลอุทธรณ์เช่นว่านีใ้ห้เป็ น
ท่ีสุด”
หลักกฎหมาย
ม.156 ว.1 - คู่ความท่ีต้องการฟ้ องหรือหรือต่อสู้คดีอย่างคนอนาถา จะต้องดำาเนินการ 2
ประการ คือ
* ต้องย่ ืนคำาร้องขอต่อศาลชัน ้ ต้นท่ีจะฟ้ องหรือได้ฟ้องไว้นัน้
* ต้องสาบานตัวให้ถ้อยคำาด้วยตนเองว่า ตนไม่มีทรัพย์สินพอจะเสียค่าธรรมเนียม
ศาลได้
- การย่ ืนคำาร้องขอดังกล่าว ต้องย่ ืนพร้อมคำาฟ้ องหรือคำาให้การ แล้วแต่กรณี
ม.156 ว.2 - พนักงานเจ้าหน้าท่ีศาล มีหน้าท่ีบันทึกถ้อยคำาสาบานของผู้ร้องขอ
- ศาลมีหน้าท่ีจัดส่งสำาเนาถ้อยคำาสาบานให้คู่ความอีกฝ่ ายหน่งึ โดยจัดไปพร้อมกับ
* สำาเนาคำาขอฟ้ อง (คำาร้องขอ) หรือต่อสู้คดีอย่างคนอนาถา
* ถ้าโจทก์เป็ นผู้ย่ืนคำาร้องขอ ให้ส่งสำาเนาคำาฟ้ องไปด้วย
ม.156 ว.3 - เม่ ือศาลได้ไต่สวนและฟั งได้ความเช่นใด ศาลจะมีคำาสัง่ 2 ประการ คือ
(1) มีคำาสัง่อนุญาตให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล หรือ
(2) มีคำาสัง่ยกคำาร้องเสีย
- ถ้าศาลอนุญาตตามคำาขอ (เต็มจำานวนหรือไม่ก็ตาม) คำาสัง่อนุญาตนัน ้ ให้เป็ นท่ีสุด
- ถ้าศาลมีคำาสัง่ยกคำาร้องเสีย ศาลต้องมีคำาสัง่ให้ผู้ร้องขอนำาค่าธรรมเนียมศาลมาชำาระต่อ
ศาลภายในกำาหนดเวลา
ม.156 ว.4 - คำาสัง่ศาลเก่ียวกับการขอดำาเนินคดีอย่างคนอนาถา มีได้ใน 2 กรณี คือ
(1) มีคำาสัง่อนุญาตยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลแต่เฉพาะบางส่วน หรือ
(2) มีคำาสัง่ให้ยกคำาขอเสีย
- กรณีศาลมีคำาสัง่ยกคำาขอเสียของโจทก์ อาจเป็ นไปได้ 3 ประการ เช่น
(1) คดีมีมูล แต่โจทก์ไม่ยากจน
(2) คดีไม่มีมูล แต่โจทก์ยากจน
(3) คดีไม่มีมูล และโจทก์ก็ไม่ได้ยากจน
- ถ้าผู้ร้องขอไม่พอใจคำาสัง่ดังกล่าว อาจย่ ืนคำาร้องขอให้ศาลพิจารณาคำาขอนัน ้ ใหม่
- ให้พิจารณาคำาขอนัน ้ ใหม่ เฉพาะกรณีการอนุญาตให้นำาพยานหลักฐานมาพิสูจน์ว่า
ผู้ร้องขอเป็ นคนยากจนเท่านัน ้ ……ไม่เก่ียวกับคดีมีมูลหรือไม่มีมูล
ม.156 ว.5 - คำาสัง่ศาลเก่ียวกับการขอดำาเนินคดีอย่างคนอนาถา มีได้ใน 2 กรณี คือ
(1) มีคำาสัง่อนุญาตยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลแต่เฉพาะบางส่วน หรือ
(2) มีคำาสัง่ให้ยกคำาขอเสีย
- ถ้าผู้ร้องขอไม่พอใจคำาสัง่ดังกล่าว อาจย่ ืนคำาร้องขออุทธรณ์คำาสัง่ต่อศาลอุทธรณ์ได้
- การย่ ืนอุทธรณ์เช่นนัน้ ต้องย่ ืนภายใน 7 วัน นับแต่วันมีคำาสัง่

• ข้อสังเกตเพ่ิมเติมของ ม.155 และ ม.156


1. การท่ีศาล (ศาลชัน ้ ต้น) จะสัง่อนุญาตให้ดำาเนินคดีอย่างคนอนาถาได้ ต้องปรากฏ
ข้อเท็จจริงต่อศาล 2 ประการ ตาม ม.155 ว.1 กล่าวคือ
(1) ผู้ร้องขอต้องยากจนจริง และ
(2) คำาฟ้ องนัน้ มีมูลท่ีจะฟ้ อง หรือคดีมีมล ู ท่ีจะฟ้ อง
2. ถ้าศาลไต่สวนแล้วมีคำาสัง่ยกคำาร้องเสีย เพราะเหตุผู้ร้องขอไม่ยากจนถึงขนาดไม่
สามารถชำาระค่าธรรมเนียมศาลได้ ผู้ร้องขอมีสิทธิ 2 ประการ คือ
(1) ย่ ืนคำาร้องขอให้พิจารณาคำาขอนัน ้ ใหม่ต่อศาล เพ่ ือให้ศาลอนุญาตให้ผู้ร้องขอนำา
พยาน
หลักฐานมาสืบเพ่ิมเติม ตาม ม.156 ว.4
(2) ย่ ืนอุทธรณ์คำาสัง่ต่อศาลอุทธรณ์ ภายในกำาหนด 7 วัน นับแต่วันมีคำาสัง่ ตาม
ม.156 ว.5
3. แต่ถ้าศาลมีคำาสัง่ยกคำาร้องเสีย เพราะเหตุคำาฟ้ องไม่มีมูลจะฟ้ อง ผู้ร้องขอมีสิทธิ
ประการเดียว คือ ต้องย่ ืนอุทธรณ์คำาสัง่ต่อศาลอุทธรณ์ ภายในกำาหนด 7 วัน นับแต่
วันมีคำาสัง่ ตาม ม.156 ว.5
4. ถ้าคู่ความได้รับอนุญาตให้ดำาเนินคดีอย่างคนอนาถาในศาลชัน ้ ต้นแล้ว ต่อมาได้
ร้องขอดำาเนินคดีอย่างคนอนาถาในศาลชัน ้ อุทธรณ์หรือศาลชัน ้ ฎีกา ให้ถือว่า คู่ความ
นัน
้ ยังยากจนอยู่ ศาลชัน ้ ต้นท่ีรับคำาร้องนัน้ อนุญาตได้เลยโดยไม่ต้องไต่สวนอีก ตาม
ม.155 ว.2
5. ถ้าผู้ร้องขอซ่งึ ได้รับอนุญาตให้ดำาเนินคดีอย่างคนอนาถาตายลง ผู้เข้ามาเป็ นคู่
ความแทน แม้มฐ ี านะดี ก็มีสิทธิดำาเนินคดีอย่างคนอนาถาต่อไปได้
6. การใช้สิทธิขอพิจารณาคำาขอใหม่ ตาม ม.156 ว.4 และการอุทธรณ์คำาสัง่ ตาม
ม.156 ว.5 เป็ นกรณีท่ีกฎหมายได้ลำาดับการดำาเนินกระบวนพิจารณาไว้ กล่าวคือ ถ้า
ใช้สิทธิตาม ม.156 ว.5 แล้ว จะย้อนกลับมาขอใช้สิทธิตาม ม.156 ว.4 ไม่ได้

แนวทางศึกษา การชีส
้ องสถานและการนัดสืบพยาน
แนวทางศึกษา การชีส ้ องสถานและการนัดสืบพยาน ควรอ่านหนังสือให้จบก่อนนะคะ(ขอ
ขอบคุณ พ่ีนิติเขียวทองค่ะ)
เอกสารหมายเลข 7
การชีส ้ องสถานและการนัดสืบพยาน
ในกระบวนพิจารณาคดีของศาล เพ่ ือความสะดวกในการดำาเนินคดี เม่ ือศาลได้อา่ นสำานวน
คำาฟ้ องของโจทก์ และสำานวนคำาให้การของจำาเลยแล้ว ศาลจะมีแนวพิจารณา 2 ทาง คือ
1. เม่ อ ื โจทก์กล่าวหา = = > จำาเลยยอมรับ = = > ศาลฟั งได้ความแล้ว = = > จะรอ
ตัดสินความ
2. เม่ อ ื โจทก์กล่าวหา = = > จำาเลยปฏิเสธ = = > ศาลยังฟั งไม่ได้ความ = = > จะนัดชี้
สองสถาน
การชีส ้ องสถาน คือการดำาเนินกระบวนพิจารณาของศาล หลังมีการย่ ืนคำาฟ้ อง คำาให้การ หรือ
คำาให้ การแก้ฟ้องแย้งแล้ว เพ่ ือความสะดวกในการพิจารณาพิพากษาคดี ศาลจะสัง่ให้มีการชี้
สองสถาน ซ่ ึงในวันนัน ้ ศาลจะดำาเนินการ 4 เร่ ือง คือ
1. การกำาหนดประเด็นข้อพิพาท ตาม ม.183 ว.1
2. การกำาหนดหน้าท่ีนำาสืบ ตาม ม.84
3. การกำาหนดหน้าท่ีนำาสืบก่อนหลัง ตาม ม.183 ว.1 ความท้าย
4. การกำาหนดวันสืบพยาน ตาม ม.184 ว.1
1. การกำาหนดประเด็นข้อพิพาท
1.1 เม่ ือศาลจะนัดคู่ความเพ่ ือทำาการชีส ้ องสถาน ต้องแจ้งกำาหนดวันชีส ้ องสถานให้คู่ความ
ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 15 วัน (ม.182 ว.1)
1.2 มาตรา 183 ว.1 จะบอกให้ทราบว่า ในวันชีส ้ องสถานนัน ้ ศาลจะดำาเนินการอะไรบ้าง
1.3 ถ้าคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ ึงไม่มาศาล ศาลจะทำาการชีส ้ องสถานเลย ถือว่าคู่ความฝ่ ายนัน ้ รู้
แล้ว และคู่ความฝ่ ายนัน ้ ไม่มีสิทธิคัดค้านในประเด็นข้อพิพาทและหน้าท่ีนำาสืบก่อนหลังท่ีศาล
กำาหนดไว้ (ม.183 ทวิ)
1.4 หน้าท่ีเบ้ืองต้นของศาล คือตรวจคำาฟ้ องของโจทก์และคำาให้การของจำาเลย แล้วนำามา
เปรียบเทียบกันดู เพ่ ือจะ “กำาหนดประเด็นแห่งคดี” โดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้
(1) กำาหนดประเด็นในรูปของคำาถาม
(2) คำาถามนัน ้ ต้องสัน
้ และกะทัดรัดได้ใจความ
(3) ต้องกำาหนดให้ครบถ้วนทุกประเด็น
1.5 เม่ ือกำาหนดประเด็นได้ครบถ้วนแล้ว ศาลจะต้องสอบถามคู่ความทัง้สองฝ่ าย ซ่งึ จะมีแนว
คำาตอบได้ 2 แนวทาง คือ
(1) ถ้าจำาเลยยอมรับ ประเด็นแห่งคดีนัน ้ เป็ นอันยุติ ไม่ต้องนำาสืบพยาน
(2) ถ้าจำาเลยปฏิเสธ ประเด็นแห่งคดีนัน ้ จะเปล่ียนเป็ นประเด็นข้อพิพาท
2. การกำาหนดหน้าท่ีนำาสืบ
2.1 หน้าท่ีนำาสืบ ท่ีปรากฏในมาตรา 84 เรียกอีกอย่างหน่ ึงว่า “ภาระการพิสูจน์”
2.2 หลักกฎหมายของ ม.84 คือ คู่ความฝ่ ายใดกล่าวอ้างข้อเท็จจริงใดเพ่ ือสนับสนุนคำาฟ้ อง
หรือคำาให้การของตน คู่ความฝ่ ายนัน ้ มีหน้าท่ีนำาสืบข้อเท็จจริงนัน ้ หรือสัน้ ๆ ว่า “ผู้ใดกล่าว
อ้าง ผู้นัน ้ นำาสืบ”
2.3 แต่ก่อนท่ีศาลจะกำาหนดหน้าท่ีนำาสืบว่าเป็ นของคู่ความฝ่ ายใด ศาลจะต้องกำาหนด
ลักษณะของปั ญหาข้อพิพาทในแต่ละประเด็นเสียก่อน ซ่ ึงมี 2 ลักษณะ คือ
(1) ปั ญหาข้อเท็จจริง - คือพฤติการณ์ของคดีท่ีเกิดขึ้น ซ่ ึงคู่ความต้องนำาพยานมาสืบให้
ศาลเช่ ือได้ตามท่ีอา้ งหรือต่อสู้
(2) ปั ญหาข้อกฎหมาย - คือปั ญหาท่ีศาลวินิจฉัยได้เอง คู่ความไม่ตอ ้ งนำาพยานหลักฐาน
มาสืบ
2.4 ประเด็นข้อพิพาทท่ีเป็ นปั ญหาข้อเท็จจริงเท่านัน ้ คู่ความฝ่ ายท่ีกล่าวอ้างจะต้องนำาสืบ …
….แต่ก็มีข้อยกเว้นบางประการท่ีคู่ความไม่จำาเป็ นต้องนำาสืบหรือพิสูจน์ข้อเท็จจริง (ม.84)
กล่าวคือ
(1) ข้อเท็จจริงท่ีรู้กันอยู่ทัว่ไป เช่น - วันเสาร์วันอาทิตย์เป็ นวันหยุดราชการ
- วันท่ี 23 ตุลาคมเป็ นวันปิ ยมหาราช
- พระอาทิตย์ขึ้นทางตะวันออก
- กลางคืนสว่าง กลางคืนมืด
(2) ข้อเท็จจริงท่ีไม่อาจโต้แย้งได้ เรียกอีกอย่างหน่ ึงว่า “กฎหมายปิ ดปาก” ไม่ให้เถียงเป็ น
อย่างอ่ ืน ซ่ ึงมีได้หลายกรณี เช่น
- ตัวแทนเชิด ปพพ. ม.821 , 822 (ปิ ดปากโดยการกระทำาหรือการแสดงออก)
- ยอมให้เพ่ ือนใช้ช่ือของตนเป็ นช่ ือห้างหุ้นส่วน ปพพ. ม.1054 (ปิ ดปากโดยเอกสาร)
- คดีแพ่งท่ีเก่ียวเน่ ืองกับคดีอาญา ปวอ.46 (ปิ ดปากโดยคำาพิพากษาของศาล)
(3) ข้อเท็จจริงนัน ้ คู่ความยอมรับกันแล้ว
- เม่ อ
ื คู่ความฝ่ ายหน่ ึงกล่าวอ้าง และอีกฝ่ ายหน่ ึงนัน ้ ยอมรับ เรียกว่า “คำารับในศาล”
หมายถึง การรับในคดีท่ีกำาลังฟ้ องร้องกัน
- เม่ อื ยอมรับกันเช่นนัน ้ ผลคือ ประเด็นแห่งคดี นัน ้ เป็ นอันยุติ ไม่ต้องนำาสืบพยาน
- คำารับในศาล อาจเกิดขึ้นได้ใน 2 ลักษณะ ซ่ ึงมีผลทางกฎหมายต่างกันเพียงเล็กน้อย
* เกิดจากการรับกันในคำาคู่ความ เช่น คำาฟ้ อง คำาให้การ มีผลเท่ากับไม่มีประเด็น
ข้อพิพาทเกิดขึ้นเลย
* เกิดในระหว่างดำาเนินกระบวนพิจารณาคดี มีผลทำาให้ประเด็นข้อพิพาทท่ีมีอยู่
นัน ้ ระงับสิน้ ไป
- คำารับในศาล อาจเกิดขึ้นในลักษณะเป็ นคำารับโดยชัดแจ้งก็ได้ หรือโดยปริยายก็ได้
ซ่ ึงคำารับโดยนัน ้ ไม่มีปัญหาใดๆ …แต่คำารับโดยปริยายจะต้องมีลก ั ษณะพิเศษ ดังนี้
* คำาฟ้ องของโจทก์ขอ ้ ใด ถ้าจำาเลยมิได้ปฏิเสธโดยชัดแจ้งไว้ในคำาให้การ ถือว่า
จำาเลยยอมรับในข้อนัน ้ ตาม ม.177 ว.2
* คำาฟ้ องของโจทก์ขอ ้ ใด ถ้าจำาเลยปฏิเสธโดยไม่ชัดแจ้ง มีผลเท่ากับไม่ได้ปฏิเสธ
* ข้อท่ีจำาเลยยกขึ้นปฏิเสธโดยชัดแจ้งแล้วก็ดี หรือข้ออ้างท่ีจำาเลยยกกล่าวขึ้นใหม่
ก็ดี จำาเลยจะต้องแสดงเหตุไว้ด้วย ตาม ม.177 ว.2 ความท้าย มิฉะนัน ้ จำาเลยจะ
นำาพยานหลักฐานมาสืบสนับสนุนไม่ได้
* เหตุผลท่ีจำาเลยยกขึ้นสนับสนุนข้ออ้างข้อโต้เถียงของตนนัน ้ จะต้องเป็ นเหตุผล
ท่ีกฎหมายยอมรับ
* การให้การต่อสู้ไว้ทุกๆ จุดนัน ้ จะต้องระวังอย่าให้มีลักษณะเป็ นคำาให้การสองแง่
สองง่ามท่ีขัดกันเองอยู่ในตัว
(4) ถ้ามีข้อสันนิษฐานไว้ในกฎหมายเป็ นคุณแก่คู่ความฝ่ ายใด คู่ความฝ่ ายนัน ้ พิสูจน์เพียงว่า
ตน
ได้ปฏิบัติตามนัน ้ ครบถ้วนแล้ว
3. การกำาหนดหน้าท่ีนำาสืบก่อนหลัง
3.1 การกำาหนดหน้าท่ีนำาสืบก่อนหลัง เป็ นดุลพินิจของศาล (ม.183 ว.1 ความท้าย)
3.2 หลักพิจารณาในการกำาหนดหน้าท่ีนำาสืบก่อนหลัง ได้แก่
(1) คู่ความฝ่ ายใดมีประเด็นต้องนำาสืบมากกว่า คู่ความฝ่ ายนัน ้ นำาสืบก่อน
(2) ถ้าประเด็นท่ีต้องนำาสืบเท่ากัน ประเด็นของฝ่ ายใดสำาคัญกว่า ฝ่ ายนัน ้ นำาสืบก่อน (3) ถ้า
ประเด็นท่ีต้องนำาสืบของทัง้สองฝ่ ายสำาคัญเท่ากัน ให้ฝ่ายโจทก์นำาสืบก่อน
3.3 ถ้าคู่ความฝ่ ายใดไม่เห็นด้วยกับการกำาหนดประเด็นข้อพิพาทหรือหน้าท่ีนำาสืบท่ีศาล
กำาหนดไว้
คู่ความฝ่ ายนัน ้ มีสิทธิดำาเนินการ ดังนี้
(1) มีสิทธิคัดค้านว่า การกำาหนดเช่นนัน ้ ไม่ถูกต้อง โดยการแถลงด้วยวาจาในขณะนัน ้ หรือ
โดยการย่ ืนคำาร้องต่อศาลภายใน 7 วัน นับแต่วันท่ีศาลสัง่ (ม.183 ว.3)
(2) เม่ ือมีคำาคัดค้าน ให้ศาลชีข้าดก่อนวันสืบพยาน (ม.183 ว.3) ซ่งึ คำาชีข้าดของศาล ผู้
คัดค้านไม่สามารถอุทธรณ์ได้ทันที แต่มีสิทธิอุทธรณ์ได้ภายใน 1 เดือน นับแต่มีคำาสัง่เด็ด
ขาด (ม.226)
4. การกำาหนดวันสืบพยาน
4.1 กรณีท่ีมีการชีส ้ องสถาน ให้ศาลกำาหนดวันสืบพยานซ่ ึงมีระยะไม่น้อยกว่า 10 วัน นับ
แต่วันชีส ้ องสถาน (ม.184 ว.1)
4.2 กรณีไม่มีการชีส ้ องสถาน ให้ศาลออกหมายกำาหนดวันสืบพยาน แล้วส่งให้แก่คู่ความ
ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 10 วัน (ม.184 ว.2)
5. ข้อสังเกตบางประการเก่ียวกับภาระการพิสูจน์
(1) ภาระการพิสูจน์ในแต่ละประเด็นข้อพิพาท หากพิสูจน์ไม่ได้ ผู้มีภาระนีย ้ ่อมต้องแพ้คดี
เฉพาะในประเด็นนัน ้
(2) ในส่วนท่ีเก่ียวกับปั ญหาข้อเท็จจริงท่ีจะต้องมีการพิสูจน์กันด้วยพยานหลักฐานนัน ้ ศาล
จะรับฟั งโดยวิธีการพิสูจน์พยานหลักฐานเท่านัน ้
(3) กรณีท่ีไม่ต้องมีการสืบพยานในคดี ถ้าใครจะเป็ นฝ่ ายแพ้คดี ก็ให้ฝ่ายนัน้ มีภาระการ
พิสูจน์
(4) กรณีภาระการพิสูจน์นัน ้ ถ้าศาลกำาหนดผิด แม้คู่ความจะมิได้โต้แย้งคัดค้านไว้ ศาลจะ
ต้องพิพากษาไปตามภาระการพิสูจน์ท่ีถูกต้อง ………กรณีการกำาหนดประเด็นแห่งคดีหรือ
หน้าท่ีนำาพยานหลักฐานเข้าสืบก่อน ถ้าศาลกำาหนดผิด ถ้าคู่ความไม่ได้โต้แย้งคัดค้านไว้ ถือว่า
ยอมรับตามท่ีศาลกำาหนดไว้ จะยกขึ้นเป็ นข้ออุทธรณ์ฎีกาต่อไปไม่ได้

แนวทางศึกษา ภาระการพิสูจน์และการนำาสืบพยาน
เอกสารหมายเลข 8
ภาระการพิสูจน์และการนำาสืบพยานเอกสาร
ภาระการพิสูจน์ (ม.84)
มาตรา 84 วางหลักไว้ว่า “ถ้าคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหน่งึ กล่าวอ้างข้อเท็จจริงอย่างใดๆ เพ่ ือ
สนับสนุนคำาฟ้ องหรือคำาให้การของตน ให้หน้าท่ีนำาสืบข้อเท็จจริงนัน ้ ตกอยู่แก่คู่ความฝ่ ายท่ี
กล่าวอ้าง
แต่ว่า (1) คู่ความไม่ต้องพิสูจน์ข้อเท็จจริงซ่ ึงเป็ นท่ีรู้กันอยู่ทัว่ไป หรือซ่ ึงไม่อาจโต้แย้งได้ หรือ
ซ่ ึงศาลเห็นว่าคู่ความอีกฝ่ ายหน่ ึงได้รับแล้ว
(2) ถ้ามีข้อสันนิษฐานไว้ในกฎหมายเป็ นคุณแก่คู่ความฝ่ ายใด คู่ความฝ่ ายนัน ้ ต้องพิสูจน์แต่
เพียงว่าตนได้ปฏิบัติตามเง่ ือนไขแก่งการท่ีตนจะได้รับประโยชน์จากข้อสันนิษฐานนัน ้ ครบ
ถ้วนแล้ว”
คำาอธิบาย
1. ภาระการพิสูจน์ เป็ นความหมายเดียวกับ “หน้าท่ีนำาสืบ” ตาม ม.84
2. หลักกฎหมายของ ม.84 คือ “ผู้ใดกล่าวอ้าง ผู้นัน ้ นำาสืบ”
3. เป็ นการนำาสืบ “ข้อเท็จจริง” เพ่ ือสนับสนุนคำาฟ้ องของโจทก์ หรือคำาให้การของจำาเลย
4. แต่มีข้อยกเว้น 2 ประการ ท่ีคู่ความไม่จำาเป็ นต้องนำาสืบข้อเท็จจริง กล่าวคือ
(1) ข้อเท็จจริงท่ีรู้กันอยู่ทัว่ไป เช่น - วันเสาร์วันอาทิตย์เป็ นวันหยุดราชการ
- วันท่ี 23 ตุลาคมเป็ นวันปิ ยมหาราช
- พระอาทิตย์ขึ้นทางตะวันออก
- กลางคืนสว่าง กลางคืนมืด
(2) ข้อเท็จจริงท่ีไม่อาจโต้แย้งได้ เรียกอีกอย่างหน่ ึงว่า “กฎหมายปิ ดปาก” ไม่ให้เถียงเป็ น
อย่างอ่ ืน ซ่ ึงมีได้หลายกรณี เช่น
- ตัวแทนเชิด ปพพ. ม.821 , 822 (ปิ ดปากโดยการกระทำาหรือการแสดงออก)
- ยอมให้เพ่ ือนใช้ช่ือของตนเป็ นช่ ือห้างหุ้นส่วน ปพพ. ม.1054 (ปิ ดปากโดยเอกสาร)
- คดีแพ่งท่ีเก่ียวเน่ ืองกับคดีอาญา ปวอ.46 (ปิ ดปากโดยคำาพิพากษาของศาล)
(3) ข้อเท็จจริงนัน ้ คู่ความยอมรับกันแล้ว
- เม่ อ
ื คู่ความฝ่ ายหน่ ึงกล่าวอ้าง และอีกฝ่ ายหน่ ึงนัน
้ ยอมรับ เรียกว่า “คำารับในศาล”
หมายถึง การรับในคดีท่ีกำาลังฟ้ องร้องกัน
- เม่ อื ยอมรับกันเช่นนัน ้ ผลคือ ประเด็นแห่งคดี นัน ้ เป็ นอันยุติ ไม่ต้องนำาสืบพยาน
- คำารับในศาล อาจเกิดขึ้นได้ใน 2 ลักษณะ ซ่ ึงมีผลทางกฎหมายต่างกันเพียงเล็กน้อย
* เกิดจากการรับกันในคำาคู่ความ เช่น คำาฟ้ อง คำาให้การ มีผลเท่ากับไม่มี
ประเด็นข้อพิพาทเกิดขึ้นเลย
* เกิดในระหว่างดำาเนินกระบวนพิจารณาคดี มีผลทำาให้ประเด็นข้อพิพาทท่ีมี
อยู่นัน
้ ระงับสิน
้ ไป

- คำารับในศาล อาจเกิดขึ้นในลักษณะเป็ นคำารับโดยชัดแจ้งก็ได้ หรือโดยปริยายก็ได้


ซ่ ึงคำารับโดยนัน
้ ไม่มีปัญหาใดๆ …แต่คำารับโดยปริยายจะต้องมีลก ั ษณะพิเศษ ดังนี้
* คำาฟ้ องของโจทก์ขอ ้ ใด ถ้าจำาเลยมิได้ปฏิเสธโดยชัดแจ้งไว้ในคำาให้การ
ถือว่าจำาเลยยอมรับในข้อนัน ้ ตาม ม.177 ว.2
* คำาฟ้ องของโจทก์ขอ ้ ใด ถ้าจำาเลยปฏิเสธโดยไม่ชัดแจ้ง มีผลเท่ากับไม่ได้
ปฏิเสธ
* ข้อท่ีจำาเลยยกขึ้นปฏิเสธโดยชัดแจ้งแล้วก็ดี หรือข้ออ้างท่ีจำาเลยยกกล่าวขึ้น
ใหม่ก็ดี จำาเลยจะต้องแสดงเหตุไว้ดว้ ย ตาม ม.177 ว.2 ความท้าย มิฉะนัน ้
จำาเลยจะนำาพยานหลักฐานมาสืบสนับสนุนไม่ได้
* เหตุผลท่ีจำาเลยยกขึ้นสนับสนุนข้ออ้างข้อโต้เถียงของตนนัน ้ จะต้องเป็ น
เหตุผลท่ีกฎหมายยอมรับ
* การให้การต่อสู้ไว้ทุกๆ จุดนัน ้ จะต้องระวังอย่าให้มีลักษณะเป็ นคำาให้การ
สองแง่สองง่ามท่ีขัดกันเองอยู่ในตัว
(4) ถ้ามีข้อสันนิษฐานไว้ในกฎหมายเป็ นคุณแก่คู่ความฝ่ ายใด คู่ความฝ่ ายนัน ้ พิสูจน์เพียงว่า
ตนได้ปฏิบัติตามนัน ้ ครบถ้วนแล้ว

พยานเอกสารให้รับฟั งได้แต่ต้นฉบับเท่านัน ้ (ม.93)


มาตรา 93 วางหลักไว้ว่า “การอ้างเอกสารเป็ นพยานนัน ้ ให้ยอมรับฟั งได้แต่ต้นฉบับเอกสาร
เท่านัน้ เว้นแต่
(1) เม่ ือคู่ความท่ีเก่ียวข้องทุกฝ่ ายตกลงกันว่า สำาเนาเอกสารนัน ้ ถูกต้องแล้ว จึงให้ศาล
ยอมรับฟั งสำาเนาเช่นว่านัน ้ เป็ นพยานหลักฐานได้
(2) ถ้าต้นฉบับเอกสารหาไม่ได้ เพราะสูญหายหรือถูกทำาลายโดยเหตุสุดวิสัย หรือไม่สามารถ
นำาต้น ฉบับมาได้โดยประการอ่ ืน ศาลจะอนุญาตให้นำาสำาเนาหรือพยานบุคคลมาสืบก็ได้
(3) ต้นฉบับเอกสารท่ีอยู่ในอารักขาหรือในความควบคุมของทางราชการนัน ้ จะนำามาแสดงได้
ต่อเม่ ือได้รับอนุญาตจากผู้มีอำานาหน้าท่ีเก่ียวข้อง อน่งึ สำาเนาเอกสารหรือข้อความท่ีคัดจาก
เอกสารเหล่านัน ้ ซ่งึ ผู้มีอำานาจหน้าท่ีเก่ียวข้องได้รับรองถูกต้องแล้ว ให้ถือว่าเป็ นอันเพียงพอท่ี
จะนำามาแสดง เว้นแต่ศาลจะกำาหนดเป็ นอย่างอ่ ืน”
คำาอธิบาย
1. ต้นฉบับเอกสาร ถือเป็ นพยานชัน ้ หน่งึ ……ถ้าไปคัดลอกมาหรือถ่ายเอกสารมา ก็เป็ น
เพียงสำาเนาเอกสารซ่ ึงถือเป็ นพยานชัน ้ สอง การนำาสำาเนาเอกสารมานำาสืบจะทำาให้พยาน
เอกสารนัน ้ มีน้ำาหนักน้อย
2. กฎหมายกำาหนดให้ศาลยอมรับฟั งได้แต่ต้นฉบับเอกสารเท่านัน ้ …..แต่ก็มีข้อยกเว้นบาง
ประการท่ีศาลยอมรับฟั งสำาเนาเอกสาร

3. ข้อยกเว้นท่ีว่านัน ้ มี 3 กรณี คือ


(1) เม่ ือคู่ความทัง้สองฝ่ ายตกลงกันว่าสำาเนาเอกสารนัน ้ ถูกต้อง ……ผลคือ ให้ศาลยอมรับ
ฟั ง
สำาเนาเอกสารเช่นว่านัน ้ เป็ นพยานหลักฐานได้
(2) เม่ ือต้นฉบับเอกสารหาไม่ได้ เพราะสูญหายหรือถูกทำาลายโดยเหตุสุดวิสัย หรือไม่
สามารถนำาต้นฉบับมาได้โดยประการอ่ ืน ……ผลคือ เป็ นดุลพินิจของศาลท่ีจะอนุญาตหรือไม่
(3) เม่ ือต้นฉบับเอกสารอยู่ในอารักขาหรือในความควบคุมของทางราชการ คู่ความสามารถ
นำาเอกสารเช่นว่านีม ้ าแสดงต่อศาลได้ 2 ทาง คือ
- นำาต้นฉบับเอกสารนัน ้ มาแสดง โดยผู้มีอำานาจหน้าท่ีเก่ียวข้องอนุญาตก่อน
- นำาสำาเนาเอกสารนัน ้ มาแสดง โดยผู้มีอำานาจหน้าท่ีเก่ียวข้องได้รับรองถูกต้องแล้ว
4. การสูญหายหรือถูกทำาลายโดยเหตุสุดวิสัย หรือไม่สามารถนำามาได้โดยประการอ่ ืน มีขอ ้
พิจารณาท่ีแตกต่างกัน ดังนี้
(1) ถูกไฟไหม้ทำาลายเสียหรือถูกคนร้ายลักไป ……..เป็ นเหตุสุดวิสัย
(2) ถูกไฟไหม้เพราะผู้อา้ งเอกสารประมาทเลินเล่อทำาให้ไฟไหม้บ้าน …..เป็ นกรณีไม่สามารถ
นำามาได้โดยประการอ่ ืน

กรณีกฎหมายบังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง (ม.94)
มาตรา 94 วางหลักไว้ว่า “เม่ ือใดมีกฎหมายบังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง ห้ามมิให้
ศาลยอมรับฟั งพยานบุคคลในกรณีอย่างใดอย่างหน่ ึงดังต่อไปนี แ ้ ม้ว่าคู่ความอีกฝ่ ายหน่งึ จะ
ได้ยินยอมก็ดี
(ก) ขอสืบพยานบุคคลแทนพยานเอกสาร เม่ ือไม่สามารถนำาเอกสารมาแสดง
(ข) ขอสืบพยานบุคคลประกอบข้ออ้างอย่างใดอย่างหน่ ึง เม่ ือได้นำาเอกสารมาแสดงแล้วว่า ยัง
มีข้อความเพ่ิมเติม ตัดทอน หรือเปล่ียนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสารนัน ้ อยู่อีก
แต่ว่าบทบัญญัติแห่งมาตรานี ม ้ ิให้ใช้บังคับในกรณีท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา93 (2) และมิให้
ถือว่าเป็ นการตัดสิทธิคู่ความในอันท่ีจะกล่าวอ้างและนำาพยานบุคคลมาสืบประกอบข้ออ้างว่า
พยานเอกสารท่ีแสดงนัน ้ เป็ นเอกสารปลอมหรือไม่ถูกต้องทัง้หมด หรือแต่บางส่วน หรือ
สัญญาหรือหนีอ ้ ย่างอ่ ืนท่ีระบุไว้ในเอกสารนัน ้ ไม่สมบูรณ์ หรือคู่ความอีกฝ่ ายหน่ ึงตีความ
หมายผิด”
คำาอธิบาย
การทำาความเข้าใจมาตรานี จ้ะต้องแยกอธิบายเป็ น2 ส่วน คือ
1. มีกฎหมายบังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง ซ่งึ จะสืบพยานบุคคลไม่ได้ ตาม ม.94
ว.1
2. ข้อยกเว้นบางประการท่ีจะสืบพยานบุคคลได้ ตาม ม.94 ว.2
1. มาตรา 94 ว.1 บอกอะไรไว้บ้าง ?
(1) คู่ความเท่านัน ้ ท่ีจะมีสิทธินำาพยานหลักฐานมาแสดงต่อศาลได้ บุคคลอ่ ืนซ่ ึงไม่ใช่คู่ความ
ไม่มีส่วนเก่ียวข้องแต่ประการใด
(2) ท่ีว่ามีกฎหมายบังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง หมายความว่า มีตัวบทกฎหมาย
บังคับให้ต้องมี ไม่ใช่มีเพราะคู่กรณีตกลงกันเอง ……….ถ้าคู่กรณีตกลงกันเอง แม้จะมี
พยานเอกสารก็ตาม ก็นำาสืบพยานบุคคลได้ ไม่ต้องห้ามตาม ม.94 ว.1
(3) ถ้าตัวบทกฎหมายบัญญัติว่า ถ้าไม่มีแล้วจะตกเป็ นโมฆะก็ดี เสียเปล่าก็ดี ไม่สมบูรณ์ก็ดี
หรือฟ้ องร้องบังคับคดีกันไม่ได้ก็ดี เป็ นกรณีท่ีกฎหมายบังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง
ทัง้สิน

(4) กรณีท่ีมีกฎหมายบังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง มีได้เฉพาะข้อพิพาทในทาง
นิติกรรมสัญญาเท่านัน ้
(5) ตัวอย่างกรณีท่ีต้องทำาเป็ นหนังสือ ได้แก่
- สัญญาโอนหนี ต ้ ามปปพ
. 306
- สัญญาซ้อ ื ขายทรัพย์สิน ตาม ปปพ. ม.456 ว.1
- สัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์ท่ีมีกำาหนดกว่า 3 ปี ตาม ปพพ. ม.538
- สัญญาจำานอง ตาม ม.714
(6) ตัวอย่างกรณีท่ีต้องมีหลักฐานเป็ นหนังสือ ได้แก่
- สัญญาจะซ้อ ื จะขายทรัพย์สิน คำามัน ่ ในการซ้ือขายทรัพย์สิน ตาม ม.456
- สัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์ไม่เกิน 3 ปี ตาม ปพพ. ม.538
- สัญญากู้ยืมเงิน ตาม ปพพ. ม.653
- สัญญาค้ำาประกัน ตาม ปพพ. ม.680
- สัญญาประนีประนอมยอมความ ตาม ปพพ. ม.851
- สัญญาประกันภัย ตาม ปพพ. ม.865
(7) เม่ ือกฎหมายบังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง ม.94 ว.1 ได้กำาหนดข้อห้ามไว้ 2
ประการ คือ
- ห้ามนำายานบุคคลมาสืบแทนพยานเอกสาร โดยอ้างว่าไม่สามารถนำาพยาน
เอกสารมาได้
- ห้ามนำาพยานบุคคลมาสืบประกอบข้ออ้างว่า เอกสารท่ีนำามาแสดงนัน ้ ยังมี
ข้อความเพ่ิมเติม ตัดทอน หรือเปล่ียนแปลงแก้ไขข้อความอยูอ ่ ีก
กรณีท่ีไม่มีกฎหมายบังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง ไม่ต้องห้ามด้วย ม.94 ว.1
หมายความว่า คู่ความสามารถนำาสืบพยานบุคคลได้ทัง้สิน ้ เช่น
- กรณีท่ีเกิดจากมูลละเมิด
- สัญญาจ้างทำาของ
- สัญญาจำานำา
- การชำาระดอกเบีย ้ เงินกู้
- ไถ่ถอนการขายฝาก ไม่วา่ จะเป็ นอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์
- การชำาระหนีเ้ป็ นของแทนหนีเ้งิน
- การวางมัดจำาหรือชำาระหนีบ ้ างส่วน
2. มาตรา 94 ว.2 ยอมให้นำาพยานบุคคลมาสืบได้ในกรณีใดบ้าง ?
มาตรา 94 ว.2 เป็ นบทยกเว้น กล่าวคือ แม้ว่ามีกฎหมายบังคับให้ต้องนำาพยานเอกสารมา
แสดงก็ตาม แต่เม่ ือมีเหตุจำาเป็ น กฎหมายก็ยินยอมให้นำาพยานบุคคลมาสืบประกอบข้ออ้างได้
ซ่ ึงมีอยู่ 4 กรณี คือ
2.1 กรณีท่ีเอกสารต้นฉบับสูญหายหรือถูกทำาลายโดยเหตุสุดวิสัย หรือไม่สามารถนำา
ต้นฉบับมาได้โดยประการอ่ ืน ตาม ม.93 (2) ให้นำาพยานบุคคลมาสืบแทนได้
2.2 กรณีท่ีอ้างว่าเอกสารท่ีแสดงนัน ้ เป็ นเอกสารปลอมหรือไม่ถูกต้องทัง้หมดหรือแต่บาง
ส่วน ให้นำาพยานบุคคลมาสืบอ้างอิงได้ ……….ตัวอย่างเช่น
- เอกสารกู้เงิน 37,200 บาท จำาเลยนำาสืบพยานบุคคลได้ความว่า ความจริงกู้ 30,000
บาท
โจทก์เขียนจำานวนเงินในสัญญาผิดความจริงโดยจำาเลยไม่ทราย ….(ต่อสู้อยู่ในประเด็น)
- จำาเลยกู้เงินโจทก์ 20,000 บาท โดยจำาเลยได้ลงลายมือช่ ือไว้ในแบบพิมพ์สัญญากู้ท่ียังไม่
ได้กรอกข้อความมอบให้โจทก์ไว้ ต่อมาโจทก์นำาเอกสารสัญญากู้นีม ้ าฟ้ อง แต่ปรากฏว่า
มีการกรอกข้อความว่าจำาเลยกู้เงินจากโจทก์ไป 85,000 บาท เอกสารสัญญากู้นีจ้ึงเป็ น
เอกสารปลอม โจทก์อ้างเอกสารนีม ้ าเป็ นพยานหลักฐานในคดีไม่ได้ จำาเลยจึงนำาสืบ
พยานบุคคลได้ ….(ต่อสู้อยู่ในประเด็น)
- โจทก์ฟ้องเรียกเงินกู้ตามสัญญา จำาเลยท่ี 1 ให้การปฏิเสธการกู้เงินและปฏิเสธว่าไม่ได้ทำา
สัญญากู้ให้โจทก์ ลายมือช่ ือในสัญญากู้เป็ นลายมือช่ ือจำาเลยท่ี 1 ลงไว้ในแบบพิมพ์สัญญา
กู้มอบให้จำาเลยท่ี 2 เป็ นหลักฐานแห่งหนีก ้ ารพนันท่ีจำาเลยท่ี 1 เสียให้แก่จำาเลยท่ี 2 โดย
ไม่ได้กรอกข้อความอ่ ืนลงในแบบพิมพ์นัน ้ สัญญากู้ท่ีโจทก์อ้างเป็ นเอกสารปลอม ดังนี้
จำาเลยท่ี 1 นำาสืบพยานบุคคลหักล้างตามข้อต่อสู้ได้ มิใช่เป็ นการสืบเปล่ียนแปลงแก้ไข
เอกสาร
2.3 กรณีท่ีอ้างว่าสัญญาหรือหนีอ ้ ย่างอ่ ืนท่ีระบุไว้ในเอกสารนัน ้ ไม่สมบูรณ์ ให้นำาพยาน
บุคคลมาสืบอ้างอิงได้ ……….ตัวอย่างเช่น
- ในเอกสารการโอนแสดงว่าโอนในประเภทยกให้ เม่ ือคู่สัญญาอีกฝ่ ายหน่ ึงต่อสู้วา่ ความ
จริงโอนขาย ดังนี ย ้ ่ อมนำาพยานบุคคลมาสืบได้เพราะเป็ นการนำาสืบว่าสัญญาให้ไม
สมบูรณ์ แต่เป็ นสัญญาซ้ือขาย อันเป็ นเร่ ืองนิติกรรมอำาพราง
- โจทก์ฟ้องเรียกเงินตามสัญญากู้จากจำาเลย จำาเลยให้การต่อสู้ว่าสัญญากู้เกิดจากการข่มขู่
และไม่ได้รับเงินเลย ดังนี จ ้ ำา เลยย่อมนำาสืบพยานบุคคลได้ตามข้อต
หักล้างว่า สัญญาหรือหนีต ้ ามเอกสารนัน ้ ไม่สมบูรณ์ตามกฎหมาย
- ฟ้ องว่าโจทก์จดทะเบียนขายท่ีดินให้ทัง้โฉนด 20 ไร่ แต่ความจริงขายเพียง 17 ไร่ อีก 3
ไร่ ฝากไว้ในโฉนดเดียวกัน เพราะแบ่งแยกโฉนดลำาบาก บัดนีจ้ำาเลยไม่ยอมให้โจทก์
แบ่งแยกโฉนดส่วน 3 ไร่ ดังนีเ้ป็ นนิติกรรมอำาพราง โจทก์นำาสืบพยานบุคคลตามฟ้ องได้
- จำาเลยให้การต่อสู้วา่ สัญญาขายฝากเป็ นนิติกรรมอำาพรางสัญญาจำานอง ย่อมเป็ นการอ้าง
ว่าคู่กรณีมีเจตนาท่ีแท้จริงจะทำาสัญญาจำานองกัน หากเป็ นความจริงตามจำาเลยอ้าง สัญญา
ขายฝากย่อมตกเป็ นโมฆะ การท่ีจำาเลยของสืบว่าสัญญาขายฝากเป็ นโมฆะจึงมิใช่เป็ นการ
นำาสืบเปล่ียนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสาร หากแต่เป็ นการนำาสืบหักล้างว่าสัญญาขาย
ฝากไม่สมบูรณ์ทัง้หมด จำาเลยนำาสืบพยานบุคคลได้
- การท่ีจำาเลยท่ี 2 นำาสืบพยานเอกสารโดยสืบพยานบุคคลประกอบข้อความและลายมือใน
เอกสารว่า ตนเป็ นผู้ยืมมิใช่ผู้ค้ำาประกันนัน ้ เป็ นการนำาสืบเร่ ืองนิติกรรมอำาพราง ไม่ต้อง
ห้ามตาม ม.94 เพราะเป็ นการนำาสืบว่าสัญญากู้ท่ีระบุไว้ในเอกสารนัน ้ ไม่สมบูรณ์
- การนำาสืบว่าสัญญาเช่าซ้อ ื เป็ นนิติกรรมอำาพรางสัญญากู้ยืมตกเป็ นโมฆะใช้ไม่ได้นัน ้ มิใช่
เป็ นการนำาสืบเปล่ียนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสาร หากแต่เป็ นการนำาสืบหักล้างสัญญา
เช่าซ้ือว่าไม่ถูกต้องสมบูรณ์ทัง้หมด ย่อมนำาสืบพยานบุคคลได้
- เจตนาลวงท่ีแสดงออกมาด้วยสมรู้กับคู่กรณีอีกฝ่ ายหน่ ึงย่อมตกเป็ นโมฆะ การนำาสืบ
พยานตามข้ออ้างของโจทก์จึงเป็ นการนำาสืบทำาลายข้อความในเอกสารว่า สัญญาท่ีระบุไว้
ในเอกสารนัน ้ ไม่สมบูรณ์ ตาม ม.94 ว.2
2.4 กรณีท่ีอ้างว่าคู่ความอีกฝ่ ายหน่งึ ตีความหมายผิด ให้นำาพยานบุคคลมาสืบอ้างอิงได้ …..
ตัวอย่าง
- สัญญาซ้อ ื ขายมีขอ ้ ความว่า “ผู้ขายยอมขายท่ีดินแปลงท่ีกล่าวข้างบนนีท ้ ัง้แปลงแก่ผู้ซ้ือ
ฯลฯ” ผู้ซ้ือย่อมนำาพยานบุคคลมาสืบได้วา่ ผู้ขายตกลงด้วยวาจาขายท่ีนอกโฉนดด้วย
โดยขายเหมาทัง้แปลงตามแนวเขตท่ีผู้ขายนำาชี้
- สัญญาจะซ้อ ื ขายท่ีดินระบุเน้ือท่ี 40 ไร่ เขตติดต่อและโฉนดเลขท่ี 1561 ได้ความว่าท่ีดินท่ี
จะซ้ือขายนัน ้ โฉนดเลขท่ี 1563 เพราะโฉนดเลขท่ี 1561 เน้อ ื ท่ีเพียง 28 ไร่เท่านัน้ ผู้ซ้อื นำา
สืบพยานพยานบุคคลได้ เพราะเป็ นการนำาสืบแปลข้อความท่ีกำากวมอยู่ ไม่ใช่แก้ไข
ข้อความเอกสาร
- สัญญาซ่ ึงมีขอ ้ ความในตอนต้นว่า กู้เงินเอาท่ีดินเป็ นประกันและตีราคาท่ีดินไว้ดว้ ย แต่ใน
ตอนท้ายมีว่า ยอมให้ทำานาต่างดอกเบีย ้ จนกว่าจะได้ไปทำาหนังสือสัญญาซ้ือขายทาง
อำาเภอ ดังนี ย ้ ่อมมีความหมายได้เป็ น2 นัย คือกู้เงินหรือจะซ้อ ื ขายท่ีดิน ซ่งึ คู่ความย่อม
นำาสืบพยานบุคคลเพ่ ือตีความหมายในสัญญาได้
- หนังสือสัญญาซ้ือขายท่ีดินมีข้อความว่า บ้านเรือนของผู้มีช่ือไม่เก่ียวกับในท่ีดินรายนี้
การท่ีผู้ขายต่อสู้และนำาสืบว่า ไม่ได้ขายท่ีดินตอนท่ีปลูกเรือนดังกล่าวด้วย เป็ นการสืบ
แสดงความหมายของข้อความแห่งเอกสารว่า ข้อความนัน ้ หมายถึงท่ีดินท่ีปลูกเรือนนัน ้
ด้วยผู้ขายย่อมมีสิทธินำาสืบพยานบุคคลได้
- ข้อความในสัญญามีวา่ จำาเลยทำาสัญญาจะซ้อ ื “ข้าวเหนียวกล้องใหญ่” จากโจทก์ การท่ี
จำาเลยจะขอสืบพยานบุคคลว่า ข้าวเหนียวชนิดตามสัญญาคือข้าวเหนียวกล้องใหญ่อย่างดี
ชนิดสีครัง้เดียวไม่ต้องขัดมันนัน ้ ย่อมนำาสืบได้ เพราะเป็ นการสืบอธิบายความหมาย
พิเศษแห่งถ้อยคำา

****************

You might also like